ประชาคมอาเซียน
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกฉียงใต้ สิงหาคม 2510 : ปฏิญญากรุงเทพฯ ความเป็นมา กรกฎาคม 2504 : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกฉียงใต้ สิงหาคม 2510 : ปฏิญญากรุงเทพฯ : ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2 ประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนครั้งที่ 12 ครั้งที่ 13
ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ 6. บรูไน เวียตนาม พม่า สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ 6. บรูไน เวียตนาม พม่า 9. ลาว 10. กัมพูชา
ส่งเสริมความร่วมมือ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ปฏิญญาอาเซียน:ปฏิญญากรุงเทพฯ ASEAN Declaration : Bangkok Declaration 8 สิงหาคม 2510 วัตถุประสงค์ ส่งเสริมความร่วมมือ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ การบริหาร 2. ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค 3. เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ พัฒนาการทางวัฒนธรรม
4. ส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี วัตถุประสงค์ปฏิญญาอาเซียน 4. ส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี 5. ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในรูปแบบการฝึกอบรม วิจัย ส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพิ่มประสิทธิภาพการเกษตร อุตสาหกรรม ขยายการค้า ปรับปรุงการขนส่ง คมนาคม เสริมสร้างความร่วมมือกับประเทศภายนอก
Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II : เพื่อประกาศจัดตั้ง ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือ ในอาเซียน ฉบับที่ 2 ปี 2546 Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II : เพื่อประกาศจัดตั้ง ประชาคมอาเซียน ASEAN Community ภายในปี 2563 ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ASEAN Political Security Community (APSC)
Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II : เพื่อประกาศจัดตั้ง ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือ ในอาเซียน ฉบับที่ 2 ปี 2546 Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II : เพื่อประกาศจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community (AEC) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ASEAN Socio - Cultural Community (ASCC)
ให้จัดตั้งประชาคมอาเซียน ASEAN Community ให้แล้วเสร็จ ภายในปี 2558 ประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั้งที่ 12 ปี 2550 ที่เซบู ให้จัดตั้งประชาคมอาเซียน ASEAN Community ให้แล้วเสร็จ ภายในปี 2558 จัดโครงสร้างองค์กรของอาเซียน รองรับภารกิจ พันธกิจ เป็นนิติบุคคล เป็นหลักการไปร่าง “กฎบัตรอาเซียน” (ASEAN Charter) ที่ทำหน้าที่ เป็น “ธรรมนูญ” การบริหารปกครอง กลุ่มประเทศอาเซียน
ผู้นำอาเซียนลงนามในกฎบัตรอาเซียน ประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั้งที่ 13 ปี 2550 ที่สิงคโปร์ ผู้นำอาเซียนลงนามในกฎบัตรอาเซียน ทำให้อาเซียนเป็นองค์การที่มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง เคารพกฎกติกา ในการทำงานมากขึ้น เป็นนิติบุคคล เป็นองค์กรระหว่างรัฐบาล Intergovernmental Organization
1. ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ASEAN Security Community - ASC 3 เสาหลัก 1. ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ASEAN Security Community - ASC 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community - AEC 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ASEAN Socio - Cultural Community - ASCC