ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์
กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข งานระบาดวิทยา 5 มิถุนายน 2557
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
งานนโยบายป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2552 ดรุณี โพธิ์ศรี
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน ตุลาคม 2556 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2551 Darunee Phosri :
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค)
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
สถานการณ์ โรคไข้เลือดออก กลุ่มงานควบคุมโรค 30 กรกฎาคม 2553.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์รายงานสถานการณ์
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อำเภอด่านซ้าย
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554 วันที่ 6 มกราคม 2554

วาระการประชุม ประธานแจ้งให้ทราบ รับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ 1/2554 เรื่องแจ้งให้ทราบ เรื่องอื่นๆ

วาระพิเศษ มอบของที่ระลึก การส่งรายงาน 506 วาระพิเศษ มอบของที่ระลึก การส่งรายงาน 506 อำเภอส่งรายงาน 506 ต่อเนื่อง สม่ำเสมอ ประจำ อำเภอปราสาท อำเภอบัวเชด อำเภอกาบเชิง อำเภอรัตนบุรี อำเภอที่มีความพยายาม แก้ไขปัญหา และมีการส่งสม่ำเสมอ อำเภอลำดวน อำเภอจอมพระ

ประธานแจ้งให้ทราบ เร่งรัดโครงการ พัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว SRRT ระดับตำบลปี 2554

รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 1/2554

สถานการณ์โรคติดต่อ ไข้เลือดออก เลปโตสไปโรซีส ไข้หวัดใหญ่

ไข้เลือดออก ประเทศไทย ณ 28 ธค 2553 ประเทศไทย ณ 28 ธค 2553 ผู้ป่วย 115,434 คน อัตรา 181.71 ต่อแสนปชก เสียชีวิต 141 ราย ร้อยละ 0.12 จังหวัดสุรินทร์ ณ 31 ธค 2553 รง 506 (ยังไม่Final) 4,505 ราย อัตรา 326.96 ต่อแสนปชก เสียชีวิต 3 ราย ร้อยละ 0.07

ไข้เลือดออก (ต่อ) จังหวัดสุรินทร์ ไข้เลือดออก (ต่อ) จังหวัดสุรินทร์ กลุ่มอายุที่พบ 10-14 ปี (1,541ราย)มากที่สุด และ 5-9 ปี (1,236ราย) เดือน สิงหาคม 1,168 ราย กรกฎาคม 867 ราย อำเภอลำดวน อัตรา 560.59 (172 ราย) อำเภอเมือง อัตรา 548.39 (1,417 ราย) น้อยที่สุด อำเภอชุมพลบุรี อัตรา 84.48 (60 ราย)

แสดงจำนวนป่วยรายเดือน ปี 2553 เปรียบเทียบค่า Median และ ปี 2552

ไข้เลือดออก (ต่อ) แนวโน้มพบผู้ป่วยลดลงตั้งแต่เดือน กย.แต่จำนวนผู้ป่วยยังสูงกว่าปี 2550-2552 เดือน ธันวาคม จำนวนผู้ป่วย 29 ราย (ยังไม่Final)

ไข้เลือดออก (ต่อ) สิ่งที่ควรตรวจสอบการดำเนินการอย่างสม่ำเสมอ ไข้เลือดออก (ต่อ) สิ่งที่ควรตรวจสอบการดำเนินการอย่างสม่ำเสมอ ความทันเวลาของการได้รับแจ้งเมื่อมีผู้ป่วย ความพร้อมของทีมควบคุมโรคระดับอำเภอ/ตำบล ความทันเวลาในการควบคุมแหล่งแพร่โรค ความครอบคลุมในการควบคุมแหล่งแพร่โรค ระบบข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ (506)

โรคเลปโตสไปโรซีส ประเทศไทย 23 ธค 2554 จังหวัดสุรินทร์ อันดับที่ 2 ผู้ป่วย 4,714 ราย อัตรา 7.42 ต่อแสนปชก. เสียชีวิต 41 ราย ร้อยละ 0.06 จังหวัดสุรินทร์ อันดับที่ 2 อัตรา 34.98 ต่อแสนปชก

โรคเลปโตสไปโรซีส (ต่อ) โรคเลปโตสไปโรซีส (ต่อ) จังหวัดสุรินทร์ จาก รง 506 ผู้ป่วย 503 ราย ตาย 4 ราย อาชีพ เกษตรกร 347 ราย สิงหาคม 82 ราย

แสดงจำนวนป่วยเปรียบเทียบ 3 ปี ย้อนหลัง ของจังหวัดสุรินทร์

โรคเลปโตสไปโรซีส (ต่อ) โรคเลปโตสไปโรซีส (ต่อ) แนวโน้ม พบผู้ป่วยลด แต่ จำนวนผู้ป่วยในเดือน ธค ยังสูงกว่า 3 ปีย้อนหลัง และพบว่าส่วนใหญ่ที่เสียชีวิต 3 ราย เสียชีวิตช่วง เดือน ตค –ธค สิ่งที่ควรดำเนินการ ใกล้ฤดูกาลเก็บเกี่ยว ประสานหน่วย ที่เกี่ยวข้อง ด้านสุขศึกษาและ การรักษา การให้สุขศึกษาเพื่อป้องกันตนเองและเข้ารักษาเร็วเมื่อมีอาการลดการสูญเสียชีวิต

ไข้หวัดใหญ่ ประเทศไทย ณ 15 ธค 53 ผู้ป่วยยืนยัน 16,367 ราย สุรินทร์ 25ราย

ไข้หวัดใหญ่ จากข้อมูลระบบเฝ้าระวังกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) สัปดาห์ที่ 51 สัดส่วนเฉลี่ย 5.94 แนวโน้ม ประมาณ 5-8 ตั้งแต่ เดือน ตค.-ธค ยังคงต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง (เกิน 5%)

แสดงค่าสัดส่วนเฉลี่ยรายสัปดาห์เปรียบเทียบกับผู้ป่วยนอก ของจังหวัดสุรินทร์

ไข้หวัดใหญ่ (ต่อ) มาตรการ มากว่าร้อยละ 5 ให้เพิ่มการเฝ้าระวังมากขึ้น ไข้หวัดใหญ่ (ต่อ) มาตรการ มากว่าร้อยละ 5 ให้เพิ่มการเฝ้าระวังมากขึ้น มากกว่าร้อยละ 10 พิจารณามาตรการพิเศษที่เตรียมไว้ของแต่ละโรงพยาบาล

ไข้หวัดใหญ่ (ต่อ) มาตรการเฝ้าระวัง ไข้หวัดใหญ่ (ต่อ) มาตรการเฝ้าระวัง พบผู้ป่วยแจ้งพท.ทันที 24 ชั่วโมงและแจ้งจังหวัดให้ทราบ พิจารณาการควบคุมป้องกัน เช่น ในบ้าน โรงเรียน โรงงาน ชุมชน สถานที่ราชการ ให้เหมาะสม ให้สุขศึกษา การป้องกัน และวัสดุอุปกรณ์ป้องกันตัวเอง ลง รง.506 และลงยืนยันพบเชื้อ

ไข้หวัดใหญ่ (ต่อ) การเตรียมความพร้อม เรื่อง ยา วัคซีน ไข้หวัดใหญ่ (ต่อ) การเตรียมความพร้อม เรื่อง ยา วัคซีน วัสดุ ป้องกันตัวเอง ให้ทุกแห่งคีย์ข้อมูลของ VMI , ระบบเฝ้าระวัง (ILI) online

ขอความร่วมมือ พบเหตุการณ์ผิดปกติในพื้นที่ ให้ โทรแจ้ง จนท งานระบาดวิทยา ไฟไหม้ น้ำท่วม อุบัติเหตุ หมู่ โรคระบาด

สรุปรายงานทางระบาดวิทยา (เสนอความคิดเห็น) รง. 506 ส่งรายงาน สัปดาห์ละ 2 ครั้ง คือ วัน........................ ลงข้อมูลการเฝ้าระวังผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ ทุกวันจันทร์http://164.115.5.58/ili/ รง. E1 ส่งรายงานทุกวัน ไข้เลือดออก แจ้งโรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทันที ที่พบ

รง. 506 ตัดยอดรายงาน วันที่ 1/1/2554 ของ ปี2553 จังหวัดจะโทรประสานกรณีที่มีข้อมูลต้องแก้ไข และขอให้ดำเนินการเพื่อจะให้เสร็จสิ้นภายในเดือน มกราคม 2554 นี้ สัปดาห์ระบาด ปี 2554 ตามเอกสารนำเข้า ตั้ง พ.ศ. ในเครื่องเป็น ปี 2554 กำหนดสัปดาห์ ว่าถูกต้องหรือเปล่า ตรวจสอบรหัสว่าตรงกับมหาดไทยหรือเปล่า