สถานการณ์โรค เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดชัยภูมิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ของโรงพยาบาล ค่าเฉลี่ย.
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
สรุปผลการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
ผู้ป่วยไข้เลือดออกจังหวัด กำแพงเพชร ปี 2556 พบผู้ป่วย 484 ราย อัตราป่วย ต่อแสน พบผู้ป่วย เสียชีวิต 1 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.21 ข้อมูล ณ 23 มิถุนายน.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
เป้าหมายการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด ปี 2547 ตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ หลัก 8. ระดับ ความสำเร็จของ การจัดทำ ทะเบียนเพื่อ แก้ไขปัญหา.
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ระหว่างวันที่ พฤษภาคม 2550 ได้รับรายงานผู้ป่วยเฝ้า ระวังทางระบาดวิทยาที่สำคัญ ดังนี้ 1. โรคไข้เลือดออก จำนวน 24 ราย 2. โรคเลปโตสไปโรซีส จำนวน 2 ราย.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สาขาโรคมะเร็ง.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์โรค เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดชัยภูมิ สถานการณ์โรค เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดชัยภูมิ

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก เดือนพฤษภาคม 2554 ตั้งแต่ต้นปีมีผู้ป่วย จำนวน 56 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 4.97 ต่อแสนประชากร พบในกลุ่มอายุ 5 – 9 ปี จำนวน 19 ราย กลุ่มอายุ 10 – 14 ปี จำนวน 18 ราย กลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 14 ราย กลุ่มอายุ 0 – 4 ปี จำนวน 5 ราย เพศชาย 35 ราย เพศหญิง 21 ราย

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก เดือนพฤษภาคม 2554 หมู่บ้านที่เกิดโรคแล้ว 39 หมู่บ้าน ในพื้นที่ 24 ตำบล 12 อำเภอ หมู่บ้านที่ยังมีการเกิดโรค 21 หมู่บ้าน ในพื้นที่ 14 ตำบล 10 อำเภอ ดังนี้

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก เดือนพฤษภาคม 2554 หมู่บ้านที่ยังมีการเกิดโรค ดังนี้ อ.เมือง 1. บ้านคร้อ ม.11 ต.นาฝาย อ.บ้านเขว้า 2. บ้านโนนเหลื่อม ม.7 ต.ภูแลนคา อ.เกษตรสมบูรณ์ 3. บ้านหนองบัวใหญ่ ม.19 ต.บ้านเดื่อ

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก เดือนพฤษภาคม 2554 หมู่บ้านที่ยังมีการเกิดโรค ดังนี้ อ.หนองบัวแดง 4. บ้านคลองชุมแสง ม.17 ต.กุดชุมแสง อ.บำเหน็จณรงค์ 5. บ้านชวน ม.2 ต.บ้านชวน อ.เทพสถิต 6. บ้านประดู่ซับกาด ม.15 ต.นายางกลัก

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก เดือนพฤษภาคม 2554 หมู่บ้านที่ยังมีการเกิดโรค ดังนี้ อ.ภูเขียว 7. บ้านหนองเบน ม.5 ต.หนองคอนไทย 8. บ้านหนองกุงศรี ม.7 ต.ธาตุทอง อ.บ้านแท่น 9. บ้านดอนดู่ ม.5 ต.บ้านเต่า (4 ราย) 10. บ้านหนองแฝก ม.6 ต.บ้านเต่า (5 ราย) 11. บ้านหนองเม็กน้อย ม.12 ต.บ้านเต่า (2 ราย)

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก เดือนพฤษภาคม 2554 หมู่บ้านที่ยังมีการเกิดโรค ดังนี้ อ.บ้านแท่น 12. บ้านหินลาดโนนกุศล ม.18 ต.สามสวน (4 ราย) 13. บ้านหินลาด ม.3 ต.สามสวน (3 ราย) 14. บ้านสามสวนกลาง ม.14 ต.สามสวน 15. บ้านหนองเรือ ม.2 ต.หนองคู ( 3 ราย) 16. บ้านหนองหญ้าม้า ม.5 ต.หนองคู 17. บ้านทรัพย์เจริญ ม.10 ต.หนองคู 18. บ้านหนองคู ม.1 ต.หนองคู

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก เดือนพฤษภาคม 2554 หมู่บ้านที่ยังมีการเกิดโรค ดังนี้ อ.แก้งคร้อ 19. บ้านแก้งเจริญ ม.10 ต.บ้านแก้ง 20. บ้านกองศรี ม.14 ต.หนองสังข์ อ.เนินสง่า 21. บ้านป่ารังงาม ม.4 ต.รังงาม

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง(ปี 49 – 53) และ ปี 2553-2554

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายเดือน เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง(ปี 49 – 53) และ ปี 2552-2554

แนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออก จังหวัดชัยภูมิ ปี 2538 - 2554 แนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออก จังหวัดชัยภูมิ ปี 2538 - 2554

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก แยกรายอำเภอ (ข้อมูล ณ วันที่ 2 ม. ค. – 7 พ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก แยกรายอำเภอ (ข้อมูล ณ วันที่ 2 ม.ค. – 7 พ.ค. 54) อำเภอ จำนวน อัตราป่วย เมือง 6 3.25 บ้านเขว้า 2 3.91 คอนสวรรค์ 0.00 เกษตรสมบูรณ์ 3 2.71 หนองบัวแดง 1 1.02 จัตุรัส 1.32 บำเหน็จณรงค์ 5.61 หนองบัวระเหว เทพสถิต 2.99 ภูเขียว 2.41 บ้านแท่น 27 59.09 แก้งคร้อ 6.49 คอนสาร ภักดีชุมพล 3.32 เนินสง่า 3.90 ซับใหญ่

เปรียบเทียบอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2554 (ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2554)

- ขอความร่วมมือให้ท่าน จัดสัปดาห์รณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ในวันที่ ๑๖ – ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๔ โดยให้เทศบาล / องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชน และภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย ด้วยวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมี ทุกหมู่บ้าน วัด โรงเรียน โรงงาน และศูนย์เด็กเล็กในเขตรับผิดชอบ ทุกแห่งโดยพร้อมเพียงกัน และให้ผู้รับผิดชอบ รวบรวม สรุป / รายงานผลการดำเนินงานพร้อมภาพถ่ายกิจกรรมการรณรงค์ ส่งให้จังหวัดทราบ - สรุปผลการสุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำ(แจกประชุมผู้บริหาร)

สรุป การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง จังหวัดชัยภูมิ ปี 2554 สรุป การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง จังหวัดชัยภูมิ ปี 2554 อันดับ กิจกรรม แผนปฏิบัติงาน ผลการดำเนินงาน หมายเหตุ 1 ประชุมประสานการดำเนินงาน ฯ -ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานระดับจังหวัด -ประชุมคณะกรรมการอำนวยการฯ ระดับจังหวัด -จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดชัยภูมิ ปี 2554 -จัดทำยุทธศาสตร์อำเภอเข้มแข็ง ม.ค 54 ก.พ.54 21-23 ม.ค.54 4 ก.พ.54 21 ก.พ54 23-25 ก.พ54 โดย สคร.5 สสจ+ปภ+ปศ. สสจ.ชย

อันดับ กิจกรรม แผน ปฏิบัติงาน ผลการดำเนิน งาน หมายเหตุ 2 พัฒนาเครือข่าย -ประชุมพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วระดับตำบล -พัฒนาเครือข่ายอำเภอนำร่อง -ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเครือข่ายฯ ระดับอำเภอ/ตำบล (๑๒ อำเภอ) -ประชุมเชิงปฏิบัติการผู้ปฏิบัติหัวหน้าทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ม.ค 54 21-23ก.พ 54 23-25 เม.ย54 3-4 พ.ค54 4 รุ่น 2 รุ่น สสจ.ชย สคร5+ สสจ.

อันดับ กิจกรรม แผน ปฏิบัติงาน ผลการดำเนินงาน หมายเหตุ 3 ติดตามการดำเนินงานนิเทศประเมินผล -ประเมินตนเอง (อำเภอ)ครั้งที1 -โดยการคีย์ข้อมูลผ่าน Web ของกรมควบคุมโรค -ติดตามการดำเนินงานของอำเภอเป้าหมาย -ดำเนินการคัดเลือกอำเภอดีเด่น ๑๖ อำเภอ -สรุปผลการคัดเลือกอำเภอดีเด่น 25 ม.ค.54 20เม.ย 54 มึ.ค 54 -พ.ค 54 -ผ่านเกณฑ์ 81.25% -ระหว่างรวบรวมข้อมูล -มึ.ค 54

สรุปผลการติดตามการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 1.การวิเคราะห์ข้อมูลโรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่ และการเชื่อมโยง ของข้อมูล 2.การนำเสนอข้อมูล/การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ 3. ระบบระบาดวิทยา ด้านความครอบคลุม/ทันเวลา/ตรวจจับสถานการณ์(ตามรายละเอียดของการประเมินมาตรฐานทีมSRRT) 4. การประชุมและการติดตามผลการประชุม/ข้อสั่งการ 5.รูปภาพ/หลักฐานการปฏิบัติงาน 6.คำสั่งที่ประกอบด้วย เครือข่ายการดำเนินงานทุกภาคส่วน 7. ทะเบียน/หลักฐานการได้รับสนับสนุน 8.การรับรู้เรื่องอำเภอ/ตำบล ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ในระดับพื้นที่ ของผู้นำชุมชน/อสม./เครือข่ายอื่นๆยังไม่ครอบคลุม

ข้อเสนอแนะ 1.เพิ่มเติมในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูล ,ช่องทางการนำเสนอ,การนำไปใช้ประโยชน์ 2.การจัดแฟ้มเอกสาร ตาม 5 คุณลักษณะ 3.ข้อมูลที่ใช้ประกอบการประเมินเชิงคุณภาพ ตั้งแต่ ม.ค. 2554 ถึง วัน ประเมิน(หรืออย่างน้อย 3 เดือน ย้อนหลัง

สรุปรายงานวัณโรค Cohort 2- 54 1.การขึ้นทะเบียนรักษา จำนวน 4,308 รายอัตราการขึ้นทะเบียน ร้อยละ 1000 2.สัดส่วนของผู้ป่วยวัณโรคปอดพบเชื้อ ร้อยละ 46.44 ควรมากกว่าร้อยละ 50 3.อัตราเสมหะเปลี่ยนจากบวกเป็นลบ ร้อยละ 90 4. อัตราความสำเร็จของการรักษา ร้อยละ 93 อัตราการรักษาหายขาด ร้อยละ 90 อัตราตาย ร้อยละ 2.3อัตราขาดยาเกิน 2 เดือนติดต่อกัน ร้อยละ 3.47อัตราล้มเหลว ร้อยละ 1.15 5. ผู้ป่วยวัณโรคตรวจ HIV/ปรึกษา ร้อยละ 100 ได้รับยาต้านไวรัส ร้อยละ 86.11

- สรุปการประชุมเชิงปฏิบัติการบริหารจัดการโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (มีเอกสารแจกประชุมผู้บริหาร) - การสำรวจข้อมูลการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ตามแผนบูรณาการ ประจำปี 2554 (มี fileแนบ)