ระบบฐานข้อมูลทางการพยาบาล และ Microsoft Access 2003

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Datadictionary Prakan Sringam.
Advertisements

11. การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบเชิงสัมพันธ์
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Microsoft Access อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย Microsoft Access.
ทำความรู้จักและใช้งาน
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
แผนการสอน วิชา Database Design and Development
Create Table in MS Access
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
Microsoft Access.
Microsoft Access.
รหัสวิชา SOHU 0022 Using Information Systems
บทที่ 3 ระบบฐานข้อมูล Database system
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 8 การออกแบบข้อมูล (Data Design) โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ฐานข้อมูลและการออกแบบฐานข้อมูล
แก้ไขปรับปรุง Form.
Microsoft Access เอกสารประกอบการบรรยายวิชา Computer in Business
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
การแปลงโมเดลข้อมูลแบบ E-R เป็นโมเดลฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การจัดการฐานข้อมูลเบื้องต้น (Database Management System)
การสร้างตาราง (Table)
โปรแกรม Microsoft Access
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
อ.อารียา ศรีประเสริฐ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การทำงานในมุมมองของ Pivot Table และ pivot chart
ขอบเขตของโครงงาน 1 จัดการข้อมูลสินค้า 2 ทำรายการขายและพิมพ์ใบเสร็จ
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
รายวิชา ระบบฐานข้อมูล 1 หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
การใช้งาน access เบื้องต้น
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
The Relational Data Model
Data Modeling Chapter 6.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Access
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
เรื่อง การสร้างตาราง (Table)
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 5 การทำงานกับหลาย Table
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 5 การทำงานกับหลาย Table
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
การใช้งาน ฐานข้อมูล การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
โปรแกรม Microsoft Access
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
การสร้างและการใช้งานฟอร์ม
ภาระงาน 3.1 การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ User Interface Design
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
MS Access (basic) By Kanok Khamhun. ฐานข้อมูล (Database) Database ( ฐานข้อมูล ) คือที่ เก็บรวบรวมข้อมูลที่มี ความสัมพันธ์ไว้ด้วยกัน ขึ้นอยู่ กับวัตถุประสงค์ของการเก็บ.
ส่วนประกอบของแบบจำลองอีอาร์
Access 2003 คืออะไร Access 2003 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ จัดการกับฐานข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้เรา จัดการกับข้อมูลปริมาณมากๆ ได้ ง่ายดาย เช่นการจัดเก็บข้อมูล,
Microsoft Access Lesson 2 1 Microsoft Access (Lesson 2) อาจารย์อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
Microsoft Access 2007 นายวุฒิชัย คำมีสว่าง.
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม หลังจากเข้าสู่โปรแกรม ระบบปฏิบัติการ MS_WINDOWS สามารถเข้า สู่โปรแกรม Access ได้หลายวิธี ตามขั้นตอน ต่อไปนี้ วิธีที่ 1 เลือกเมนู Start.
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลด้วยโปรแกรม MS Access 2013
Integrated Mathematics
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบฐานข้อมูลทางการพยาบาล และ Microsoft Access 2003 อาจารย์อารียา ศรีประเสริฐ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ khunareeya@hotmail.com

การพัฒนาฐานข้อมูล 1) การออกแบบฐานข้อมูลด้วย Entity-Relationship Diagram 2) การแปลงโมเดลข้อมูลแบบ E-R เป็นโมเดลฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 3) การออกแบบไฟล์ (File Design) 4) การพัฒนาฐานข้อมูลด้วย MS ACCESS

1) การออกแบบฐานข้อมูลด้วย Entity-Relationship Diagram

การออกแบบฐานข้อมูลด้วย Entity Relationship Diagram (E-R Diagram) การวิเคราะห์หาเอนติตี การหาความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตีหลักเพื่อหา เอนติตีอื่นที่เกี่ยวข้อง การหาแอททริบิวท์และกำหนดแอททริบิวท์ที่เป็นตัวชี้เฉพาะสมาชิกของเอนติตี

ตัวอย่าง คณะพยาบาลศาสตร์ต้องการพัฒนาฐานข้อมูลหอพักนักศึกษาพยาบาลขึ้น เพื่อใช้เก็บข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับการพักในหอพักมหาวิทยาลัยของนักศึกษาพยาบาล 2 หลักสูตร โดยนักศึกษาแต่ละท่านต้องพักในหอพักของมหาวิทยาลัยได้หลายหอพักตลอดหลักสูตร แต่ในแต่ละปีการศึกษาจะเข้าอยู่ได้เพียง 1 ห้อง ของ 1 หอพัก ข้อมูลนักศึกษาที่ต้องการจัดเก็บ จะประกอบด้วย รหัสนักศึกษา ชื่อ-สกุล วันเดือนปีเกิด ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ หลักสูตร ห้องพักแต่ละห้องจะมีนักศึกษาพักอยู่ได้หลายคน ข้อมูลห้องพักที่ต้องการจัดเก็บจะประกอบด้วย รหัสห้อง หมายเลขห้อง ชื่ออาคาร ชั้น หมายเลขโทรศัพท์ภายใน หอพักแต่ละหอมีห้องพักได้หลายห้องและห้องพักแต่ละห้องเป็นของหอพัก 1 หอพัก สำหรับข้อมูลหอพักจะประกอบด้วย รหัสหอพัก ชื่อหอพัก ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์

rest Student Room in Dormitory BuildingName FirstName Floor Student_ID LastName RoomNo Telephone RoomID rest Curriculum Student Room Telephone Birthdate in Address Dorm_ID Dormitory DormName Address Telephone

2) การแปลงโมเดลข้อมูลแบบ E-R เป็นโมเดลฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

การแปลงโมเดลข้อมูลแบบ E-R เป็น โมเดลฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ การแปลงเอนติตีปกติและแอททริบิวท์ของเอนติตีปกติ การแปลงความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี

แสดงการแปลงรีเลชันปกติ และแอททริบิวท์แบบธรรมดา วิธีการ : สร้างรีเลชัน 1 รีเลชัน โดยจะนำ Attribute มาเป็น Attribute ของรีเลชัน นำ Identifier มาเป็น PK ของรีเลชัน

การแปลงความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี ประเภทความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-หนึ่ง ประเภทความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-กลุ่ม ประเภทความสัมพันธ์แบบ กลุ่ม-ต่อ-กลุ่ม

ประเภทความสัมพันธ์ แบบหนึ่ง-ต่อ-หนึ่ง

แสดงการแปลงเอนติตีปกติและแอททริบิวท์ของเอนติตีเป็นรีเลชัน วิธีการ : สร้างรีเลชัน 2 รีเลชัน โดยจะนำเฉพาะ Attribute ย่อย มาเป็น Attribute ของรีเลชัน นำ Identifier มาเป็น PK ของรีเลชัน

ประเภทความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-หนึ่งระหว่างสองเอนติตี

ประเภทความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-หนึ่งระหว่างสองเอนติตี

ประเภทความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-กลุ่ม

ประเภทความสัมพันธ์แบบ หนึ่ง-ต่อ-กลุ่มระหว่างสองเอนติตี นำ PK ของเอนติตีด้านที่มีความสัมพันธ์เป็น 1 มาเป็น FK ของเอนติตีที่มีความสัมพันธ์ด้านที่เป็น M แผนภาพ E-R ของความสัมพันธ์ “เป็นที่ปรึกษา” ระหว่างเอนติตี ”อาจารย์” และ ”นักศึกษา”

ประเภทความสัมพันธ์แบบ หนึ่ง-ต่อ-กลุ่มระหว่างสองเอนติตี โมเดลฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ที่ได้จากการแปลงแผนภาพ E-R แบบ หนึ่ง-ต่อ-กลุ่ม

ประเภทความสัมพันธ์แบบ กลุ่ม-ต่อ-กลุ่ม

ประเภทความสัมพันธ์แบบ กลุ่ม-ต่อ-กลุ่ม การกำหนดคีย์หลักให้กับรีเลชันที่สาม การใช้คีย์หลักของสองรีเลชันแรกร่วมกัน เป็นคีย์หลักของ รีเลชันที่สาม การสร้างคีย์ใหม่ขึ้นมา

แผนภาพ E-R แสดงเอนติตีเชิงสัมพันธ์ชื่อ “การลงทะเบียน” 1 N N 1

การกำหนดคีย์หลักให้กับรีเลชันที่สาม นำ PK ของเอนติตีด้านที่มีความสัมพันธ์เป็น 1 มาเป็น PK ของเอนติตีใหม่ที่มีความสัมพันธ์ด้านที่เป็น N โมเดลฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ที่แปลงมาจากแผนภาพ E-R แบบ กลุ่ม-ต่อ-กลุ่ม

rest Student Room in Dormitory BuildingName FirstName Floor Student_ID LastName RoomNo Telephone RoomID rest Curriculum Student Room Telephone Birthdate in Address Dorm_ID Dormitory DormName Address Telephone

3) การออกแบบไฟล์ (File Design)

การออกแบบประเภทข้อมูลและขนาดของแอททริบิวท์ Text ข้อมูลตัวอักษร ตัวเลข หรืออื่นๆ ผสมกัน ที่ยาวไม่เกิน 255 ตัวอักษร เช่น คำนำหน้า, ชื่อ, นามสกุล, ที่อยู่ เป็นต้น Memo ข้อมูลตัวอักษร ตัวเลข หรืออื่นๆ ผสมกัน ยาวเกิน 255 ตัวอักษร เช่น บันทึก หรือหมายเหตุ Number ข้อมูลตัวเลขที่นำไปคำนวณได้ เช่น อายุ, เงินเดือน Date/Time ข้อมูลวันที่ สามารถนำไปคำนวณได้ เช่น วันเกิด, วันเข้าทำงาน Currency ข้อมูลตัวเลขรูปแบบสกุลเงิน AutoNumber ข้อมูลตัวเลขที่ให้รันอัตโนมัติ เช่น ลำดับที่ Yes/No ข้อมูลตรรกะ ให้เลือก "ใช่" หรือ "ไม่ใช่" OLE Object ข้อมูลเสียง, ภาพ, วิดีโอ Hyperlink ข้อมูลที่สามารถคลิกลิงก์ได้ Lookup Wizard ข้อมูลค้นหา และแสดงเป็นรายการ เช่น DropDown List

File Design ระบบฐานข้อมูลหอพัก File : Student Field Name Data Type Field Size Type Description StudentID Text 8 Primary Key รหัสนักศึกษา FirstName 100 ชื่อนักศึกษา LasttName นามสกุล PhoneNumber 10 หมายเลขโทรศัพท์ Birthdates Date/Time MediumDate วันเดือนปีเกิด Address 255 ที่อยู่ Cirrriculun หลักสูตร RoomID Number Foreign Key หมายเลขห้อง

File Design ระบบฐานข้อมูลหอพัก File : Room Field Name Data Type Field Size Type Description RoomID Autonumber Integer Primary Key รหัสห้อง RoomNo Text 4 หมายเลขห้อง Floor 2 ชั้น BuildingName 100 ชื่ออาคาร Telephone 3 หมายเลขภายใน DormID Foreign Key รหัสหอพัก File : Dorm Field Name Data Type Field Size Type DormID Autonumber 3 Primary Key DormName Text 50 ชื่อหอพัก Address ที่อยู่ Telephone 20 หมายเลขโทรศัพท์

4) การพัฒนาฐานข้อมูลด้วย MS ACCESS

ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ Access 2003 Table : ตารางสำหรับเก้บข้อมูล Query : ตารางสืบค้น เพื่อสร้างเงื่อนไขและแสดงข้อมูลเฉพาะส่วนที่ต้องการ Form : สื่อกลางระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้งาน (User Interface) เพื่อให้ทำงานสะดวกขึ้น Report : รายงานออกทางเครื่องพิมพ์

ตาราง (Table) คุณสมบัติของแต่ละ Field (Field Properties) ขนาดของ ตามชนิดที่เลือกไว้ใน Data Type Field Size รูปแบบของข้อมูลใน Field นั้น ๆ Format รูแปแบบที่ใช้บังคับป้อนข้อมูล เช่น กำหนดให้ป้อนได้เฉพาะตัวเลขได้ไม่เกิน 5ตัวเลข Input Mask ป้ายชื่อที่ติดแทนชื่อ Field ที่หัวคอลัมนืเมื่อแสดงข้อมูลแบบ Datasheet View Caption การกำหนดค่าเริ่มต้น Default Value แสดงกรอบข้อความเมื่อข้อมูลที่ป้อนเข้าไปไม่เป็นไปตามเงื่อนไงที่กำหนดไว้ใน Validation Rule Validation Text กำหนดว่าต้องป้อนข้อมูลหรือไม่ Required กำหนดว่าสามารถป้อนค่าว่าง (Null Value) ได้หรือไม่ Allow Zero Length

ฟอร์ม (Form)

ตารางสืบค้น (Query) อ่านจากเอกสาร Word เรื่อง ตารางสืบค้น