พ.ต.ศรศักร ชูสวัสดิ์ (ผศ.ดร.) กองวิชาประวัติศาสตร์ สกศ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community
Advertisements

4. สถาบันการเมืองการปกครอง
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สิ่งท้าทายพระสงฆ์ในบริบทสังคมปัจจุบัน
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
สรุปวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society) รศ. น. ท. ดร
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
ประเทศมาเลเซีย ‘Malaysia’.
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (The Republic of Singapore)
ความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรม กรณี ติมอร์ตะวันออก
สงครามกลางเมืองยูโกสลาเวีย
อิรัก-อิหร่าน.
สงครามเวียตนาม.
สงครามเกาหลี.
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
ปัญหาการเมืองไทยในปัจจุบัน
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
กลุ่มอิสลาม ญิฮาดปาเลสไตน์
ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
“ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาคกับการรวบรวม จัดเก็บและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะทางด้านอาเซียนศึกษา” รศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี
จัดทำโดย ด.ญ.อมราลักษณ์ ลาภเกิน เลขที่ 23 กลุ่ม 16
10 ประเทศอาเชียน จัดทำโดย ด.ช.ปัณณทัต ด้วงทอง กลุ่ม 15 เลขที่ 41
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. ศิโรรัตน์ ราชตุ กลุ่ม16เลขที่20
การเมืองการปกครองรัชกาลที่ 7
Preparation for Democratic Citizen
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องที่
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
แผนการปฏิบัติงานขับเคลื่อนมวลชน กอ.รมน.
การกระจายอำนาจสู่ อปท.
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 : การรักษาความมั่นคงของรัฐ.
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
พม่า มีเมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ความฝันที่ไกลและไปไม่ถึง?
ประเด็นประชุม 16 มี. ค.. สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไปก่อนสงกรานต์ งานรูทีน (ดำเนินการไปได้เลย) – เรื่องเข้าคณะรัฐมนตรี – หนังสือสั่งการ – หนังสือเชิญ ภารกิจหลักของสัปดาห์หน้า.
โดย พลตรี กฤษณะ บวรรัตนารักษ์ ผู้ช่วยเจ้ากรมพระธรรมนูญ
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เผด็จการทหารพม่า เป็นปัญหาของประชาชาติชาติทั่วโลก
10ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. นฤภร บุญส่งศรี ม.1/14 เลขที่ 20 กลุ่ม 15
ความเป็นมาของชาติไทย : พ.อ.ดร.ศรศักร ชูสวัสดิ์ ความเป็นมาของชาติไทย : พ.อ.ดร.ศรศักร ชูสวัสดิ์ องค์ประกอบของชาติ มี 1.ดินแดนที่แน่นอน.
การปฏิวัติฝรั่งเศส.
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102 ผู้สอนครู ธีระพล เข่งวา
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
ธงชาติ ตรา แผ่นดิน ชื่อทางการ : มาเลเซีย (Malaysia) ที่ตั้ง : ตั้งอยูในเขตเสนศูนยสูตร ประกอบดวยดินแดนสองสวน โดยมีทะเลจีนใตกั้น - สวนแรก คือ มาเลเซียตะวันตก.
ก. ประธานาธิบดีแฮรี่ เอช ทรูแมน ข. ประธานาธิบดีธอมัส วูดโรว์ วิลสัน
สมาคมอาเซียน AEC ประเทศ ลาว (Laos)
จัดทำโดย ด.ญ. ประภาศิริ เซ็นแก้ว กลุ่ม 13 เลขที่ 24
ประเทศมาเลียเชีย 10 ประเทศอาซียน
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย เด็กหญิง ญาธิดา หลาวเพ็ชร กลุ่ม 14 เลขที่ 14
Welcome.
พระสงฆ์กับการเมืองไทยในปัจจุบัน
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
จัดทำโดย ด.ญ. อรจิรา บุญภักดี ม.1/14 เลขที่ 31 กลุ่ม 15
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พ.ต.ศรศักร ชูสวัสดิ์ (ผศ.ดร.) กองวิชาประวัติศาสตร์ สกศ. สันติภาพที่อาเจะห์ พ.ต.ศรศักร ชูสวัสดิ์ (ผศ.ดร.) กองวิชาประวัติศาสตร์ สกศ.

หัวข้อการบรรยาย สถานการณ์ความมั่นคงในอินโดนีเซีย สันติภาพที่อาเจะห์ ภูมิหลัง การเจรจาและข้อตกลง บทบาทของไทย โอกาสที่จะเกิดสันติภาพถาวร

สถานการณ์ความมั่นคงในอินโดนีเซีย อุดมการณ์แห่งชาติของอินโดนีเซีย 1945 เอกภาพในความหลากหลาย (Unity in Diversity) ความไม่มั่นคง

สาเหตุของความไม่มั่นคง ความหลากหลาย: เกาะ ชนเผ่า ภาษา ลัทธิความเชื่อ มรดกของลัทธิล่าอาณานิคม: ลัทธิความเชื่อ รัฐเดี่ยว การเมืองเผด็จการสมัยซูฮาร์โต: การรวบอำนาจ การแย่งชิงทรัพยากร การรุกราน การปฏิวัติอิสลามในอิหร่าน 1979: การสร้างรัฐอิสลาม

ความหลากหลาย 13,000 เกาะ 360 ชนเผ่า 365 ภาษา 5 ลัทธิความเชื่อ (อิสลาม คริสต์ ฮินดู พุทธ และผี)

เขตความขัดแย้งในอินโดนีเซีย ที่มา: BBC News

สถานการณ์ ปัญหาความขัดแย้งทางศาสสาคริสต์ – อิสลาม : สุลาเวซี โมลุกกะ ปัญหาแบ่งแยกดินแดน: ติมอร์ตะวันออก (1975-1999) สุมาตรา (1976 -ปัจจุบัน) ปาปัว (Irian Jaya) (1969 - ปัจจุบัน) ปัญหาชนเผ่า: ดยัก-มาดูเรส ในกาลิมันตัน การก่อการร้าย: บาหลี จาการ์ตา

สันติภาพที่อาเจะห์ 9 ธ.ค. 2002 การลงนามในสัญญาหยุดยิงระหว่างรัฐบาลอินโดนีเซียและขบวนการอาเจะห์เสรี ยุติความขัดแย้งที่ยาวนานกว่า 26 ปี มีผู้เสียชีวิตกว่า 12,000 คน

ที่มา: BBC News

ภูมิหลังของAceh จุดแรกของศาสนาอิสลาม (700) การต่อสู้กับดัชท์ (1873-1942) การต่อสู้กับระบอบสาธารณรัฐ 1950 : เพื่อเอกราช รอบแรก – Darul Islam (1950s) > เขตปกครองพิเศษ รอบสอง- GAM (1976 – ปัจจุบัน) > การลุกฮือ – ปราบปราม (1980s –1990s)

Gerakan Aceh Merdeka - Free Aceh Movement ก่อตั้ง 1976 วัตถุประสงค์: เอกราช และรัฐอิสลาม หัวหน้า Malik Mahmud สาเหตุ เหตุผลทางประวัติศาสตร์ เหตุผลทางศาสนา เหตุผลทางเศรษฐกิจ

การเจรจา: อินโดนีเซีย - GAM สถานที่ Henry Duant Centre เจนีวา บทบาท The Henry Duant Centre The Wise Men Gen. Anthony Zinni Budimir Loncar สุรินทร์ พิศสุวรรณ

สรุปข้อตกลง ทั้งสองฝ่ายหยุดยิงทันที การเลือกตั้งเสรีในปี 2004 เพื่อจัดตั้งรัฐบาลปกครองตนเอง แต่ไม่ได้รับเอกราช รัฐบาลใหม่จากการเลือกตั้งมีสิทธิเก็บเงินได้จากน้ำมันและก๊าซ ร้อยละ 70 กบฎต้องวางอาวุธ สรุป: ปกครองตนเองและเลือกตั้งเสรี = การวางอาวุธของกบฏ

ทำไมจึงบรรลุข้อตกลงได้ รัฐบาลอินโดนีเซีย หลักเอกภาพ หลักประนีประนอม Gam ข้อเสนอที่ดีที่สุด - Forgotten War

บทบาทของนานาชาติ ไม่สนับสนุน GAM ไม่สนับสนุนการแยกอินโดนีเซีย ผลักดันให้เกิดสันติภาพโดยเร็ว แลกกับการให้ความช่วยเหลือ แรงกดดันจากสหรัฐฯ

ตั้งคณะกรรมการความมั่นคงของอาเจะห์ มีประธานร่วม 3 ฝ่าย การบังคับใช้ข้อตกลง ตั้งคณะกรรมการความมั่นคงของอาเจะห์ มีประธานร่วม 3 ฝ่าย ดูแลการปลดอาวุธ-การปฏิบัติตามข้อตกลง-การเลือกตั้ง ใช้กำลังคน 150 นายไม่ติดอาวุธ 3 ฝ่าย อินโดนีเซีย GAM ต่างชาติ (ไทย- ฟิลิปปินส์ ) ตั้งทีมตรวจสอบ 24 จุด 24 ทีม

บทบาทของไทย หนึ่งในคณะกรรมการร่วมดูแลการปลดอาวุธและการปฏิบัติตามข้อตกลง พลตรี ทนงศักดิ์ ตุวนันท์ เป็นประธานร่วม (3 คน) ส่งกำลังอีก 24 นาย

โอกาสที่จะมีสันติภาพถาวร อินโดนีเซีย GAM นานาชาติ เพื่อเอกภาพ เพื่อเอกราช เพื่อความสงบ

Salamat – สวัสดี