การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

Knowledge Management (KM)
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
แนวคิด ในการส่งเสริมการอ่าน
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
Learning Organization PSU.
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
KM = Knowledge Management
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
KM AAR.
KM RID Team Work / Team Learning / AAR.
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ( กลุ่ม ZAO SHANG HAO )
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
กรณีศึกษา Gotoknow.org การจัดการความรู้ด้วย Weblog
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
Knowledge Management การจัดการความรู้สู่การพัฒนาการสอน
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
Participation : Road to Success
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
มาตรฐานการควบคุมภายใน
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
การจัดการ ความรู้ กองแผนงาน. 1. ทีมงาน KM ซึ่งแต่งตั้งในปี 2549 เป็น แกนนำหลักในการดำเนินการเพื่อความต่อเนื่อง 2. ประเมินผลการดำเนินการในปี 2549 และนำเสนอผลการประเมินเพื่อหารือในที่
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
การวิจัยในงานประจำ.
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
ยินดีต้อนรับ ผู้อำนวยการกองพัสดุ และคณะ วันพุธที่ 6 สิงหาคม 2557.
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดย กองการเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

การจัดการความรู้ในองค์กร “การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กรซึ่งกระจัดกระจาย ในตัวบุคคล มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ ปฏิบัติงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ” นิยาม “การจัดการความรู้” (ก.พ.ร.)

ต้องเข้าใจว่า ตัวองค์ความรู้เองไม่สามารถจัดการตัวเองได้โดยตรง เราไม่สามารถสั่งให้ความรู้ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ที่คนวิ่งไปจัดเก็บตัวเองได้ (ในคอมพิวเตอร์ , ในองค์กร)

บทบาทหลัก คือ การสามารถสร้างระบบและสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ก่อให้เกิดการเรียนรู้ สร้างและแบ่งปันความรู้ ให้เกิดขึ้นในองค์กร “การจัดการความรู้ สู่องค์กรยุคใหม่” บดินทร์ วิจารณ์ ,2547

เรียนรู้ร่วมกันโดยใช้โมเดลของบริษัท ซีร็อกซ์ สภาพที่อยากเป็น 4 5 6 การเรียนรู้ แลกเปลี่ยน จัดกิจกรรม จัดการความรู้ ยกย่อง ให้รางวัล ................. กระบวนการ & เครื่องมือ การสื่อสาร เปลี่ยนแปลง & พฤติกรรม 3 2 1 Robert J Osterhoff, 25 Aug. 2004

เป้าหมาย คุณภาพงานที่ดีขึ้น การจัดการความรู้

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดการความรู้อย่างไร

ยุคแห่งความรู้และการจัดการความรู้ ก่อนปี 2545 ที่คณะแพทยศาสตร์ - ต่อเนื่องถึงปัจจุบัน ทศวรรษที่ 1 พ.ศ. 2515-2524 ยุคแห่งการก่อร่างสร้างบ้าน ทศวรรษที่ 2 พ.ศ. 2525-2534 ยุคแห่งการพัฒนาคน พัฒนางาน ทศวรรษที่ 3 พ.ศ. 2535-2544 ยุคแห่งคุณภาพ ทศวรรษที่ 4 พ.ศ. 2545-ปัจจุบัน ยุคแห่งความรู้และการจัดการความรู้

โมเดลปลาทู ต้นแบบการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) โมเดลปลาทู

Knowledge Vision มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จะใช้การจัดการความรู้ เป็นเครื่องมือสำคัญในการเร่งรัดทุกภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ

Knowledge Sharing จัดหลากหลายเวทีให้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างวัฒนธรรมแลกเปลี่ยน ยอมรับ ระหว่างกัน ใช้การเรียนลัด ประยุกต์ต่อยอดพัฒนา

คลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย สู่คณะ หน่วยงาน สร้าง CoPs Knowledge Assets คลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย สู่คณะ หน่วยงาน สร้าง CoPs ฐานข้อมูลผู้มีความรู้ ความชำนาญ Website KM คณะ หน่วยงาน CoP Internal Benchmarking Site visit Best Practice

ร่วมทำแผน KM

งานของ กจ. ที่เกี่ยวกับ KM เราทำอะไร

จากการจัดการความรู้ จากความพยายามที่จะ เพิ่มการไหลเวียนของความรู้ สู่ประชาคม ก้าวสู่การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ

ฐานข้อมูลผู้มีความรู้ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชานชาลาเพื่อการเรียนรู้ ความชำนาญ มีแนวทางชัดเจน ระบบจัดเก็บข้อมูล Website KM เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลาย ๆ เวที ชานชาลาเพื่อการเรียนรู้ Internal Benchmarking Site visit CoP Best Practice

แบบเจอหน้าเจอตา “face 2 face” ทาง IT “Blog 2 Blog” เวทีแลกเปลี่ยน แบบเจอหน้าเจอตา “face 2 face” ทาง IT “Blog 2 Blog” (วงภายใน) Share.psu.ac.th (วงภายนอก) http//www.gotoknow.org

เราพบว่าการจัดการความรู้อย่างง่าย ดำเนินการอย่างง่ายที่สุดไม่เน้นเครื่องมือหรูหราหรือยุ่งยาก เริ่มจากกิจกรรมดี ๆ ที่มีอยู่แล้ว เช่นหา best practice ของ QA กิจกรรมสร้างสรรค์ในงานประจำที่มีอยู่แล้ว (โครงการพัฒนางาน) กิจกรรมข้อเสนอแนะต่อองค์กร

นำสิ่งเหล่านั้นมาจัด ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยจัดกระบวนการให้มีผู้กระตุ้น (คุณอำนวย) ช่วยตั้งคำถามเพื่อให้กลุ่มเหล่านั้น นำเสนอกิจกรรมของตน อย่างมีชีวิต ชีวา เกิดความภาคภูมิใจในประสบการณ์ของตน พร้อมแลกเปลี่ยน ออกจากประสบการณ์จริง (tacit knowledge)

Internal Benchmarking

ระบบประกันคุณภาพภายใน และภายนอก นโยบาย เป้าหมาย แผนฯ คุณภาพ องค์ประกอบคุณภาพ - ชี้กระบวนการด้วย PDCA-P มาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพ - ชี้ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ ผู้รับผิดชอบ ประกันคุณภาพภายใน ประกันคุณภาพภายนอก การจัดทำ SAR การประเมินคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ บรรยากาศของการแบ่งปัน แลกเปลี่ยน การให้คุณค่าของความแตกต่างหลากหลาย เปิดโอกาสให้ทดลองทำงานในวิธีใหม่ ๆ รับรู้การเปลี่ยนแปลงภายนอก

ดำเนินการโดยแทรกในงานปกติ ใช้การจัดการความรู้เพื่อพัฒนางาน ให้ดีขึ้น ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ดำเนินการโดยแทรกในงานปกติ ใช้การจัดการความรู้เพื่อพัฒนางาน ให้ดีขึ้น อย่าทำให้รู้สึกว่าเป็นงานที่เพิ่มขึ้น จัดพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่ทุกคนในองค์กร สามารถเข้าไปแลกเปลี่ยนแบ่งปันได้อย่างเป็นธรรมชาติ

• KM ที่ผิด คือ KM ที่ทำแล้วเพิ่มงาน    พนักงานรู้สึกว่าเป็นภาระเพิ่มขึ้น KM ที่ผู้ทำรู้สึกว่าตนกำลังทำผลงานให้นาย หรือให้หน่วย KM • KM ที่ถูก คือ KM ที่ทำแล้ว “งานได้ผล คนเป็นสุข” และได้ผลงานเพิ่มขึ้น เกิดมิตรภาพในที่ทำงานเพิ่มขึ้น จาก blog ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช (18 พค.2549)

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Learning Organization

ขอบคุณครับ