(Organizational Behaviors) พฤติกรรมองค์การ (Organizational Behaviors)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต่อองค์การ ประเภทขององค์การ ความหมายของพฤติกรรมองค์การ พื้นฐานความรู้ของวิชาพฤติกรรมองค์การ
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อม สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture) การเปลี่ยนแปลง การเมือง (Politics) เศรษฐกิจ (Economic) เทคโนโลยี (Technology)
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อองค์การ การตลาด (Marketing) การเงิน (Finance) การจัดการ (Management) การผลิตและการดำเนินงาน (Production and Operation)
ระบบองค์การ ระบบ + การรวมตัวของบุคคล + + กิจกรรม + วัตถุประสงค์
ประเภทขององค์การ องค์การแบบเป็นทางการ องค์การแบบไม่เป็นทางการ องค์การแบบเป็นทางการ องค์การแบบไม่เป็นทางการ องค์การแบบปฐมภูมิ องค์การแบบทุติยภูมิ
พฤติกรรมองค์การ พฤติกรรม องค์การ + อาการหรือปฏิกิริยาต่าง ๆ ของระบบที่แสดงออกมาเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า ระบบที่เกิดจากการรวมตัวกันของบุคคลเพื่อทำกิจกรรมร่วมกัน โดยมีเป้าหมายที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
พฤติกรรมระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคลและสภาพแวดล้อม พฤติกรรมองค์การ พฤติกรรมระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคลและสภาพแวดล้อม ที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกองค์การ อันจะมีอิทธิพล ต่อการดำเนินการขององค์การ
กระบวนการพื้นฐานที่จะช่วยให้ มีความเข้าใจพฤติกรรมของคน การสังเกต การฟังและการอ่าน การไตร่ตรอง การถาม
พฤติกรรมมนุษย์ทั่ว ๆ ไป ก่อนเข้าสู่องค์การ กรรมพันธุ์ / พันธุกรรม การอบรมเลี้ยงดู บุคลิกภาพ. รูปร่างลักษณะ พฤติกรรมมนุษย์ สิ่งแวดล้อม ทัศนคติ ความคาดหวัง สิ่งจูงใจ การบังคับ ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ บรรทัดฐาน
พฤติกรรมมนุษย์ มีการสังกัดกลุ่ม - FORMAL GROUP - INFORMAL GROUP พฤติกรรมมนุษย์เมื่อเข้าสู่องค์การ การเป็นสมาชิกกลุ่มย่อย/กลุ่มใหญ่ - เหตุผลของการเข้าร่วมกลุ่ม - องค์ประกอบของกลุ่ม - ประเภทของกลุ่ม - บรรทัดฐานของกลุ่ม - บทบาทที่คาดหวังจากกลุ่ม พฤติกรรมมนุษย์ การใช้อำนาจและพฤติกรรมกลุ่ม ภาวะผู้นำในกลุ่ม ผลประโยชน์ของกลุ่ม การติดต่อสื่อสารภายในกลุ่ม และระหว่างกลุ่ม - ปฏิกิริยาโต้ตอบ - ความขัดแย้ง โครงสร้างองค์การ - สายการบังคับบัญชา - กฎระเบียบ - บรรยากาศ การเมืองในองค์การ
เปลี่ยนแปลงที่ปัจจัยเหล่านี้ เช่น เปลี่ยนแปลงทัศนคติค่านิยม บรรทัดฐาน ปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อ พฤติกรรม พฤติกรรมมนุษย์ เปลี่ยนแปลงที่ปัจจัยเหล่านี้ เช่น เปลี่ยนแปลงทัศนคติค่านิยม บรรทัดฐาน เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
การศึกษาพฤติกรรมองค์การ มีพื้นฐานของการวิจัยเป็นกรอบในการวิเคราะห์และแก้ปัญหา โดยใช้ รูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ กรณีศึกษา การสำรวจ เป็นการศึกษาโดยใช้กลุ่มตัวอย่างตอบคำถาม การทดลองใช้ห้องแล็บ เป็นการทดลองในสภาพแวดล้อมที่สามารถ ควบคุมได้ เพื่อศึกษาความเป็นไปของระบบเมื่อเกิดการเปลี่ยน แปลงของตัวแปรต่าง ๆ การออกสนาม เป็นการศึกษาพฤติกรรมจากระบบและจากการสังเกต ปฏิสัมพันธ์ในองค์การจริง
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต่อองค์การ ประเภทขององค์การ สรุป ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต่อองค์การ ประเภทขององค์การ ความหมายของพฤติกรรมองค์การ พื้นฐานความรู้ของวิชาพฤติกรรมองค์การ