บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

โครงงานคอมพิวเตอร์.
สมดุลเคมี.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ธาตุอาหารพืช Macronutrients : N, P, K, Ca, Mg, S
Physiology of Crop Production
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
ทบทวนความรู้ การสอบปฏิบัติการครั้งที่ 1
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.

ผลการจำกัดอาหารในลูกสุกรหย่านมก่อนกำหนด
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Phosphorus and Phosphate
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
กิจกรรมเก็บตัวอย่าง และการวิเคราะห์คุณภาพดิน
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
Lab : protein chemistry JUN 27th, 2014 Rujira Patanawanitkul, M. D
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
การเจริญเติบโตของพืช
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
Department of Food Engineering
วุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์
ปฏิบัติการเรื่องการแช่แข็ง
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
ธาตุอาหารพืช (Plant Nutrient).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS

การเจริญเติบโตของพืช คือ การที่พืชสะสมน้ำหนัก แห้ง เนื่องจากพืชรับธาตุอาหารและน้ำมาใช้ใน กระบวนการเมแทบอลิซึมเพื่อใช้ในการเจริญเติบโต โดยทั่วไปเนื้อเยื่อพืชสดมีน้ำเป็นองค์ประกอบถึง 80-90% แต่ขึ้นกับชนิดและระยะการเจริญเติบโต รวมถึงสะสมน้ำหนักแห้งประมาณ 20% ของน้ำหนักสด

90% ของน้ำหนักแห้งเป็นอินทรียสาร ส่วนใหญ่คือ โครงสร้างของผนังเซลล์ เช่น คาร์โบไฮเดรท โปรตีน ไขมัน ส่วนที่เหลือคือ อนินทรียสาร ที่พืชสะสมใน เซลล์หรือเนื้อเยื่อในรูปของธาตุอาหาร และนำไปใช้ ในกระบวนการเมแทบอลิซึม

ปริมาณหรือความเข้มข้นของธาตุอาหารที่สะสมใน เซลล์หรือเนื้อเยื่อพืช ขึ้นกับชนิดพืช อายุ สภาพแวดล้อม เช่น แสง ความชื้น อุณหภูมิ ชนิดดิน pH ดิน ปริมาณอินทรียสารในดิน รวมถึงบทบาทและ หน้าที่ของธาตุอาหารต่อกระบวนการทางสรีรวิทยา ของพืช

การตรวจสอบว่าพืชขาดธาตุอาหารหรือไม่ สามารถทำ ได้หลายวิธี เช่น อาการขาดธาตุอาหารที่พืชแสดงออก (visual symptom) การวิเคราะห์เนื้อเยื่อพืช(plant tissue analysis) และวิเคราะห์ดิน (soil analysis)

บทปฏิบัติการนี้ วิเคราะห์เนื้อเยื่อพืชเพื่อตรวจหา ธาตุอาหารที่มีอยู่ในสารละลายเถ้า ซึ่งสามารถทราบ การขาดธาตุอาหารพืชก่อนพืชจะแสดงอาการขาดธาตุ อาหารให้เห็น ซึ่งสามารถแก้ปัญหาการขาดธาตุอาหาร ของพืชได้ N, P, S มักสูญหายระหว่าง เตรียมเถ้า หรือมีปริมาณน้อย ลง

วัตถุประสงค์คือ เพื่อให้ทราบวิธีการวิเคราะห์ธาตุอาหารพืชบางชนิด ที่เป็นองค์ประกอบในเถ้าเชิงคุณภาพ(quantitative test)

ใช้ ammonium oxalate( (NH 4)2C2O4 )ทดสอบ หลักการคือ ทดสอบ Ca ใช้ ammonium oxalate( (NH 4)2C2O4 )ทดสอบ Ca 2+ (aq) + C2O4 2-(aq) Ca C2O4 (s) calcium ion oxalate ion calcium oxalate ได้ตะกอนสีขาว ของ calcium oxalate

Ca

2. ทดสอบ Mg ใช้ สารละลาย (NH4 OH)(1:4) และ (Na2HPO4) ทดสอบ 2Mg +2 (aq) + 2 HPO4 2-(aq) + 2 NH 4 +(aq) 2 MgNH4PO4(s) ได้ตะกอนสีขาว ของ Magnesium ammonium phosphate

Mg

SO4 2- (aq)+ Ba 2+ (aq) Ba SO4 (s) ใช้ สารละลาย barium chloride(BaCl2)ทดสอบ SO4 2- (aq)+ Ba 2+ (aq) Ba SO4 (s) ได้ตะกอนสีขาว ของ Barium sulfate

S

4. ทดสอบ P ใช้ สารละลาย ammonium molybdate( (NH4)2MoO4) ทดสอบ ในสภาพกรด PO4 3-(aq) + 3 NH4 +(aq) + 12 MoO4 2- (aq) (NH4)3 PO4(MoO3)12(s) ได้ตะกอนสีเหลืองของ ammonium phosphate molybdate

เติม stannnous chloride (SnCl 2)ลงไปเพื่อเป็น reducing agent และเกิด (MoO 2.4 MoO3)2.H3 PO4.H2O ซึ่งเป็นสารละลายสีน้ำเงิน

5. ทดสอบ Fe ใช้ สารละลาย potassium thiocyanate( KSCN) ทดสอบ Fe 3+ (aq) + SCN – (aq) Fe (SCN) 2+ (aq) ferrothiocyanate ได้สารละลายสีแดง ของ ferrothiocyanate

Fe

ลำดับการทดลอง การเตรียมสารละลายเถ้า นำเถ้าประมาณ 2 กรัม ใส่beaker 50 ml เติมน้ำกลั่น 10 ml ทดสอบ pH ด้วยกระดาษลิตมัส

เติมสารละลายกรด HCl (1:4) 5 ml สังเกตฟอง อากาศ เติมน้ำกลั่น 25 ml ต้มให้เดือด ทิ้งให้เย็น แล้วกรองด้วย กระดาษกรองเบอร์ 1 จะได้ สารละลายเถ้า(ash solution)