แสง สี ไฟ ในภาพยนตร์ Light Color Gaffer

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
Advertisements

บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
สื่อการเรียนรู้ ความงามของศิลปะด้านจิตรกรรม ศ เรื่อง
น้ำหนักแสงเงา.
กลุ่ม L.O.Y..
รุ้งพิเศษสำหรับท่าน เมฆมีขอบเป็นสีน้ำเงินทั้งนั้น และแต่ละวันที่
บทบาทของสีในสิ่งพิมพ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ ม. 3
ผู้ผลิต นายเชิดชัย ประโปตินัง ตำแหน่ง ครู คศ. 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
COMPOSITION องค์ประกอบศิลป์.
สื่อประกอบการเรียนรู้
ยินดีต้อนรับสู่ Visual Art Online
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
颜色 Yánsè ความเชื่อเรื่อง สี ของชาวจีน โครงงาน เสนอ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
วงจรสี.
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง ข้าวสาลีมีความสำคัญต่อ
Web Design.
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
ความหมายของการโน้มน้าวใจ
วิชาถ่ายภาพ.
พัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่อย่างเป็นระบบ (The Civil Service Academy)
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
Liquid Crystal Display (LCD)
บทที่ บทนำ....
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
( Organization Behaviors )
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
วิธีดูธนบัตรปลอม จุดสังเกตในธนบัตรรัฐบาล.
การผลิตภาพยนตร์ การฝึกอบรมหลักสูตรภาคปฏิบัติ ปี 2552
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
Plasma display นางสาวอัจฉรี สุขผ่อง รหัส เทคโนโลยีสารสนเทศ ปี 4.
หลักสำคัญ 5 ประการ 1.ความรู้สึกปลอดภัย 2.ความรู้สึกสงบ 3.การตระหนักรู้ถึงศักยภาพ 4.การประสานรวมพลังของชุมชน 5.การมีความหวัง.
ทฤษฏีสี หลักการใช้สี.
สี (Color).
รู้จักกับโลกของ โฮมเพจ & เว็บไซต์.
พลอยประจำวันเกิด จัดทำโดย นางสาวรุ่งนภา ลายทอง คณะวิทยาศาสตร์
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
เครื่องมือและเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
ทฤษฎีความต้องการของ แมคคลีแลนด์...?
บทที่ 11.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
Module 4 เครื่องวัดสีและเครื่องวัดสีเฉพาะ
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
การสื่อสารด้วยใจคลายวิกฤต
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
เทคนิคการปรับกล้อง.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์กายภาพทั้ง 6 ภาคของไทย และสภาวะแวดล้อมต่างๆ ศึกษาภัยธรรมชาติต่างๆ ซึ่งทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือปรากฏการณ์ในพื้นที่
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แสง สี ไฟ ในภาพยนตร์ Light Color Gaffer

แสงในภาพยนตร์ 1.1 ความสำคัญและประโยชน์ - สร้างความเข้าใจในภาพ - สร้างบรรยากาศของเรื่องราว - ทำให้รับรู้เกี่ยวกับมิติและความมืด - ให้เกิดความสวยงาม

แสงในภาพยนตร์ 1.2 ลักษณะของแสงเพื่อการถ่ายทำภาพยนตร์ - แหล่งแสง มาจาก แสงธรรมชาติ แสงจากไฟประดิษฐ์ - ลักษณะของแสง แสงกระด้าง: สร้างความรู้สึกที่รุนแรง แสงนวลฟุ้ง: สร้างอารมณ์ชวนฝัน

แสงในภาพยนตร์ 1.3 อิทธิพลของแสงต่ออารมณ์ - ลักษณะของแสง - ทิศทางของแสง - สีของแสง - การส่งผ่านของแสง 1.4 การวัดแสง - วัดแสงสะท้อน - วัดแสงตกกระทบ

แสงในภาพยนตร์ /วิดีทัศน์ -แสงหลัก: Main light | key ligh -แสงเสริม: Fill light -แสงส่องหลัง: Back light -ส่องผม: hair light -ส่องไหล่: kick light -แสงส่องฉาก (BACKGROUND LIGHT)

Standard 3–Point Lighting

4–Point Lighting

LOWKEY LIGHT

HIGHKEY LIGHT

Tone Color Lighting

Tone Color Lighting

Tone Color Lighting

Tone Color Lighting

Tone Color Lighting

Tone Color Lighting

Tone Color Lighting

Tone Color Lighting

Shadow Lighting

Shadow Lighting

Shadow

Clouse–Up

แสงในภาพยนตร์ /วิดีทัศน์ ไฟถ่ายทำ - Carbon Arc - Quartz-Halogen - HMI หลอดไฟชนิด Metalic halide ให้อุณภูมิแสง 5,500K ถ่ายทำกลางคืนให้เป็นกลางวัน - Tungsten-Filament ใช้ถ่ายภาพบุคคล

Carbon Arc

Quartz-Halogen

HMI หลอดไฟชนิด Metalic halide ให้อุณภูมิแสง 5,500K ถ่ายทำกลางคืนให้เป็นกลางวัน

Tungsten-Filament ใช้ถ่ายภาพบุคคล

จิตวิทยาแห่งสี ในภาพยนตร์ สี ที่เกิดจากปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ สี ที่เกิดจากการสร้างสรรค์ของมนุษย์ ส้ม-แดง ร้อน ท้าทาย ตื่นเต้น ชีวิต เหลือง-เขียว ร่าเริง ธรรมชาติ ผ่อนคลาย น้ำเงิน-เทา สงบ สุขุม น้ำตาล-เทา เศร้า รันทด สิ้นหวัง ส้ม-เขียว จริงจัง อำนาจ พลัง กำลังใจ ฟ้า-ขาว ปลอดโปร่ง สดใส อ่อนโยน

จิตวิทยาแห่งสี ในภาพยนตร์ ปัจจัยในการเลือกสี (มิติ ของ สี ในภาพยนตร์) (1) เวลา ซึ่งแสดงถึงบรรยากาศ ที่ปรากฏลงบนภาพ เช่น เช้า กลางวัน ค่ำ กลางคืน (2) อารมณ์ ซึ่งแสดงถึง พลังที่ซ่อนอยู่ภายในใจ เช่น ความรัก ความพยาบาท ความท้อแท้ (3) สถานที่ เช่น ภายนอก ภายใน นรก สวรรค์ ที่กลางแจ้ง หรือที่แคบ ย่อมให้สีที่แตกต่างกัน (4) วัฒนธรรม มนุษย์ที่มีวัฒนธรรม ความเชื่อ และสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน ย่อมตีความหมายของสี ที่แตกต่างกันไปด้วย

แสงในภาพยนตร์ /วิดีทัศน์ การเตรียมสถานที่ในการจัดแสง - ศึกษาบท - เลือกสถานที่ การจัดแสง - ความสมดุลของแสงบนวัตถุที่เคลื่อนที่ และวัตถุที่อยู่นิ่ง - ความต่อเนื่องของแสง