กลุ่มที่ 4 อำนาจเจริญ มุกดาหาร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
เน้นเป้าหมายที่คนมากกว่ายุง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กลุ่มที่ 3 อุบลราชธานี อุบลเมืองดอกบัวงาม แม่นำสองสี มีปลาแซบหลาย หาดทรายแก่งหิน ถิ่นไทยนักปราชญ์ ทวยราษฎร์ใฝ่ธรรม งามล้ำเทียนพรรษา ผาแต้มก่อนประวัติศาสตร์
แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
ประชุมชี้แจง แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วันที่ 22 กันยายน 2552 ณ ห้องประชุม 200 โดย นายประสงค์ ประยงค์เพชร.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่. 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติงานให้มีความรู้ และความชำนาญในการ ออกแบบ การจัดการ ดำเนินการ ฝึกซ้อมแผนรับมือกับโรค.
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
การดำเนินงานป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาลปีใหม่ 2552
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ กรณีตำแหน่งนอกเลื่อนไหล และ ตำแหน่งว่างในสังกัด สสจ./รพศ.,
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.3 โครงการชุมชนเข้มแข็ง เตรียมพร้อมป้องกันภัย (นำร่อง) 1 หมู่บ้าน
“บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล ในการจัดการวิกฤตอุทกภัย”
การเตรียมความ พร้อม และแนวทางการ จัดกิจกรรม ช่วงเทศกาลปีใหม่ ๒๕๕๖ สำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวงชนบท.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ไม่พบข้อบกพร่องและพบข้อบกพร่อง
การเลือกตั้งผู้แทนพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตามหนังสือ สธ ว 152 ลว
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 4 อำนาจเจริญ มุกดาหาร

คำขวัญ ประจำจังหวัดมุกดาหาร หอแก้วสูงเสียดฟ้า ภูผาเทิบแก่งกะเบา แปดเผ่าชนพื้นเมือง ลือเลื่องมะขามหวาน กลองโบราณล้ำเลิศ ถิ่นกำเนิดลำผญา ตระการตาชายโขง เชื่อมโยงอินโดจีน

พื้นที่ จ.มุกดาหาร ภัยชีวภาพ ภัยธรรมชาติ หนาว อุทกภัย แล้ง ไฟป่า พื้นที่ จ.มุกดาหาร ภัยธรรมชาติ หนาว อุทกภัย แล้ง ไฟป่า ภัยชีวภาพ ไข้เลือดออก หวัดใหญ่ หวัดนก เลบโต พิษสุนัขบ้า เห็ดพิษ

พื้นที่ จ.มุกดาหาร ภัยมนุษย์ก่อขึ้น ภัยสารเคมี อุบัติเหตุจราจร ไฟไหม้ พื้นที่ จ.มุกดาหาร ภัยสารเคมี โรงน้ำแข็ง (แอมโมเนีย) ยาฆ่าแมลง โรงงานน้ำตาล ภัยมนุษย์ก่อขึ้น อุบัติเหตุจราจร ไฟไหม้

ระบุภัยสุขภาพที่มีโอกาสเกิด Item ประเภทของภัยสุขภาพ ภัยสุขภาพ Risk Analysis โอกาส ผลกระทบ 1 ภัยธรรมชาติ ภัยหนาว 4 2   อุทกภัย 3 แล้ง ไฟป่า ภัยชีวภาพ ไข้เลือดออก หวัดใหญ่ หวัดนก เลบโต พิษสุนัขบ้า เห็ดพิษ ภัยสารเคมี โรงงานน้ำแข็ง ยาฆ่าแมลง โรงงาน้ำตาล ภัยมนุษย์ก่อขึ้น อุบัติเหตุจราจร ไฟไหม้

Risk Martrix Table 4.1 4.2 ภัยหนาว อุบัติเหตุ 4.3 ไข้เลือดออก 4.4 3.1 3.2 อุทกภัย ภัยแล้ง 3.3 พิษสุนัขบ้า เห็ดพิษ 3.4 2.1 2.2 ไฟป่า เลบโต ยาฆ่าแมลง ไฟไหม้ โรงงานน้ำตาล 2.3 หวัดใหญ่ หวัดนก 2.4 1.1 โรงน้ำแข็ง 1.2 1.3 1.4

Work 2 ความเสี่ยง : อุบัติเหตุจราจรทางบก ความเสี่ยง : อุบัติเหตุจราจรทางบก ชื่อการฝึกซ้อม : การซ้อมแผนเตรียมความพร้อมรับอุบัติเหตุหมู่ช่วงเทศกาลสงกรานต์ปี 2555 วัตถุประสงค์ : 3.1 เพื่อประเมินระบบการเตรียมความพร้อมฯ ในการรับมืออุบัติเหตุจราจรทางบกในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2555 3.2 เพื่อทบทวนบทบาทภาระหน้าที่ของแต่ละหน่วยงาน ในการรับมืออุบัติเหตุจราจรทางบกในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2555

ต่อ 4. ตัวชี้วัด : มีความพร้อมในการรับมือเมื่อเกิดอุบัติเหตุหมู่ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2555 อย่างมีประสิทธิภาพ 5. รูปแบบการฝึกซ้อม : แบบ Funtional exercise

6. ผู้เข้าร่วมการฝึกซ้อม : 6.1 ผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร 6.2 หัวหน้าส่วนราชการ - ตำรวจ - เทศบาล อปจ. อปท. - นายอำเภอ - ประชาสัมพันธ์ - นายสถานีเดินรถ - ปภ. - สื่อมวลชน - หัวหน้าด่านสะพาน - ขนส่งจังหวัด - มูลนิธิการกุศล - สพท. 6.3 หน่วยงานสาธารณสุข - นพ.สสจ.มุกดาหาร - ผอก.รพ.มุกดาหาร - ผอก.รพช , รพ.สต 6.4 ตัวแทนภาคประชาชน - อสม. - ผู้นำชุมชน

ต่อ 7. สถานการณ์สมมุติ เวลาประมาณ 16.30 น. เกิดเหตุรถบัสทัศนศึกษากลับจาก การแสวงบุญที่พระธาตุพนม จ.นครพนม ชนกับ รถตู้ผู้แสวงโชคกลับจากคาสิโน สปป.ลาว มีผู้บาดเจ็บจำนวน 39 คน เสียชีวิต จำนวน 2 คน

8. คณะกรรมการวางแผนฝึกซ้อม ปภ.จ.มุกดาหาร ประธาน คณะทำงานจาก สสจ.มุกดาหาร คณะทำงานจาก รพ.มุกดาหาร คณะทำงานจาก ขนส่งมุกดาหาร คณะทำงานจาก ประชาสัมพันธ์มุกดาหาร

9. คณะกรรมการประเมินผลการฝึกซ้อม สคร.7 อุบลฯ ปภ.เขต สกลนคร สพท.มุกดาหาร ปภ.มุกดาหาร

10. เอกสารการฝึกซ้อม สถานการณ์อุบัติเหตุจราจรทางบก จ.มุกดาหาร ปีที่ผ่านมา 3-5 ปี หนังสือเชิญ , คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ วาระและรายงานการประชุมของคณะกรรมการแต่ละคน คู่มือการซ้อมแผน , (บทบาทหน้าที่) Flowchart กำหนดการ ขอบเขต สถานที่ เอกสารหลักฐานการเงิน สิ่งสนับสนุนต่างๆ ใบประกาศเกียรติคุณ หนังสือขอบคุณ แบบลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม แบบสรุปถอดบทเรียน

11. คณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการประเมินผลการฝึกซ้อม 1.ผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร 2.ปภ.มุกดาหาร 3.นพ.สสจ.มห. , ขนส่งมุกดาหาร , นายอำเภอ , ประชาสัมพันธ์ 4.หัวหน้าด่าน ตม.มุกดาหาร 11. คณะกรรมการประเมินผลการฝึกซ้อม 1.สคร.7 อุบล 3.สพท.มุกดาหาร 2.ปภ.เขต สกลนคร 4.ปภ.มุกดาหาร คณะทำงานสนับสนุนการปฎิบัติการ 1.ปภ.มุกดาหาร 4.มูลนิธิ 2.อบจ. อปท. 5.ตำรวจ 3.สสจ.มุกดาหาร 6.รพ.มุกดาหาร คณะประชาสัมพันธ์ 1.ประชาสัมพันธ์มุกดาหาร 2.สื่อมวลชน 3.งาน สป.สสจ.มุกดาหาร คณะวิชาการฝึกซ้อม 1.นพ.สสจ.มห. 2.ปภ.มุกดาหาร 3.ฝ่าย คร. สสจ.มุกดาหาร 4.ตำรวจ 5.ขนส่ง คณะควบคุมการฝึกซ้อม 1.ผอ.รพ.มุกดาหาร 2.ผอก.รพช 3.1669 / EMS 4.นพ.สสจ.มห. คณะอำนวยความสะดวก 1.ตำรวจ 2.ขนส่ง จ.มุกดาหาร 3.นายสถานีเดินรถ 4.ปภ. อปพร

12. การถอดบทเรียน 1.ขั้นตอนการวางแผน การฝึกซ้อม 2.กระบวนการฝึกซ้อม 1.ขั้นตอนการวางแผน การฝึกซ้อม 2.กระบวนการฝึกซ้อม 3.สิ่งที่สามารถนำไปใช้ในอนาคต 4.บทเรียนการเรียนรู้ ,ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการแต่ละหน่วยงาน 5.นำบทเรียนที่ได้นำไปใช้ในการพัฒนางานต่อไป