ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
Advertisements

จดหมายกิจธุระ.
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
บทเรียนโปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เจ็ดมหัศจรรย์ของโลก.
สนุกกับชนิดของคำไทย ไปกับ อ. พัชรินทร์ พึ่งเนตร
Present Simple Tense.
เรื่อง คำสรรพนาม.
แต่ละวันในชีวิต ล้วน เป็นวันพิเศษ หลายปีก่อน ฉันคุยกับเพื่อน นักเรียนเก่าที่เกาซุง.
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
คำคล้องจอง หนู ปู ดูรูงู ปูนา ขาเก
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
ขัดคำสั่งผู้บังคับบัญชา
จัดทำโดย นางสมบัติ แตรไชย
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
ประโยคความซ้อน หรือ สังกรประโยค
ได้ซิจ๊ะแหม่ม ทำไมจะไม่ได้ล่ะ
คำกริยา.
คำวิเศษณ์.
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
คำกริยา.
คำวิเศษณ์.
คำนาม.
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการใช้ภาษาพัฒนาความคิด
อย่าด่วนชื่อ เพราะว่าสมณะนี้เป็นครู
กลุ่มสาระภาษาไทย สำหรับช่วงชั้นที่ 2
หลักการเขียนโน้มน้าวใจ ลักษณะของสารโน้มน้าวใจ
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
เรื่อง การเขียนรายงาน
อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แก้ไขอย่างไรดี
สื่อเพื่อส่งเสริม กระบวนการคิด
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
การอ่านเชิงวิเคราะห์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สื่อ CAI เรื่อง คำนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
เรื่อง การเขียนคำจากคำอ่าน
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน นางพัทธนันท์
การจำแนกประเภทของสาร
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
การฟังเพลง.
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
การอ่านเชิงวิเคราะห์
คำ วิเศษณ์ สนุกกับชนิดของคำ
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
นางสรัญญา โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน สพป.กจ.2
บันทึกสัมภาษณ์นักเรียน มัธยมศึกษาต้น สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ ๔ วิชาเอกการสอน ภาษาอังกฤษ สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์
การแข่งขันการตอบคำถามหนังสือสารานุกรมไทย สำหลับเยาวชนฯ ครั้งที่ ๑๙ สโมสรไลออนส์สากลภาครวม ๓๑๐ ประเทศไทย (ภาคเหนือ ๓ จังหวัด) ปีบริหาร ๒๕๕๕-๒๕๕๖.
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
วิชาพิเศษลูกเสือสำรอง นายบรรจง เป็ดทอง L.T.
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
เรื่อง ประโยค.
ทะเบียนราษฎร.
คำถามที่ให้ช่วยกันหาคำตอบ
สื่อการเรียนรู้ เรื่องเครื่องหมายวรรคตอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว

ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง ประธาน กริยา กรรม ประธาน ขยายประธาน กริยา ขยายกริยา กรรม ขยายกรรม

ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง ประธาน ขยาย กริยา กรรม ๑. ฝนตก ฝน - ตก ๒.หน้าต่างเปิด หน้าต่าง เปิด ๓.ตาปลูกผัก ตา ปลูก ผัก ๔.ตาดำปลูกผัก ดำ ๕.ตาดำปลูกผักคะน้า คะน้า ๖.ตาดำปลูกผักคะน้า แล้ว

การจำแนกประโยคความเดียว โดยจำแนกตามเจตนาของผู้ส่งสาร แบ่งออกเป็น ๔ ชนิด คือ ๑. ประโยคบอกเล่า ซึ่งเป็นประโยคบอกให้รู้หรือแจ้งให้ทราบ เช่น - ความรู้เป็นทรัพย์อันประเสริฐ - คุณครูให้การบ้านนักเรียน ๒. ประโยคปฏิเสธ เป็นประโยคที่บอกความปฏิเสธ ประโยคนี้จะมี คำว่า “ไม่ มิใช่ มิได้ ไม่ได้” ในประโยค เช่น - เด็ก ๆ ไม่ควรนอนดึก - นักท่องเที่ยวไม่ชอบเดินไกลๆ

๓. ประโยคคำถาม เป็นประโยคที่ต้องการคำตอบ มี ๒ ลักษณะ คือ ๓.๑ ประโยคคำถามที่มักต้องการคำตอบเป็นคำอธิบาย มักใช้คำว่า “ ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร” เช่น - ใครเป็นผู้ค้นพบเรื่องแรงโน้มถ่วงของโลก - ตึกที่สูงที่สุดอยู่ที่ไหน - หนังสือเล่มนี้มีเนื้อหาสาระในด้านใด ๓.๒ ประโยคที่มีใจความเป็นคำถาม โดยมีคำว่า “หรือ หรือไม่ ใช่หรือไม่” ประโยคนี้ต้องการคำตอยเพียง “รับ” หรือ “ปฏิเสธ” เท่านั้น เช่น - นักเรียนเข้าใจคำพูดครูหรือไม่ - เขาจะไปบางแสนกับเราหรือไม่ - เธอดื่มน้ำเพียงพอแล้วหรือ

๔. ประโยคคำสั่งและขอร้อง ประโยคชนิดนี้ถ้าเป็นประโยคคำสั่งมักขึ้นต้นด้วยคำกริยา และประโยคขอร้องมักขึ้นต้นด้วย “โปรด กรุณา” เช่น - อย่าทำเสียงดังนะ - โปรดถอดรองเท้าไว้ข้างนอก