การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์ โดย นายชัยวัฒน์ นาคโพธิ์
หญ้าแฝก พันธุ์หญ้าแฝกในประเทศไทย ประโยชน์ของหญ้าแฝก - หญ้าแฝกหอม หรือ หญ้าแฝกลุ่ม - หญ้าแฝกดอน ประโยชน์ของหญ้าแฝก - ปลูกเพื่ออนุรักษ์ดินและน้ำ - ปลูกเพื่อใช้เลี้ยงสัตว์
โภชนะของหญ้าแฝก โปรตีน เยื่อใย - NDF - NDS - เซลลูโลส , เฮมิเซลลูโลส , ลิกนิน แร่ธาตุ - แคลเซี่ยม , ฟอสฟอรัส
ตาราง : แสดงจำนวนหน่อกอของหญ้าแฝกสายพันธุ์ต่างๆ อายุ 2 ปี ความสูง และ ปริมาณการกินได้ของสัตว์
ตาราง ( ต่อ) : แสดงจำนวนหน่อกอของหญ้าแฝกอายุ 2 ปี ความสูง และปริมาณการกินได้ของสัตว์
ตาราง : แสดงผลผลิตน้ำหนักสด ผลผลิตน้ำหนักแห้ง และผลผลิต โปรตีนของหญ้าแฝก เมื่อตัดที่ระดับความสูงแตกต่างกัน
ตาราง : แสดงส่วนประกอบทางเคมีของหญ้าแฝกเมื่อตัดที่ความสูง แตกต่างกัน ตาราง : แสดงส่วนประกอบทางเคมีของหญ้าแฝกเมื่อตัดที่ความสูง แตกต่างกัน
ตาราง : แสดงผลผลิตน้ำหนักสด น้ำหนักแห้ง และผลผลิตโปรตีนของ หญ้าแฝกเมื่อตัดที่ระยะการตัดแตกต่างกัน
ตาราง : แสดงการเปรียบเทียบคุณค่าทางอาหารของหญ้าแฝกหมัก และหญ้าคุณภาพดีหมัก
ตาราง : แสดงอัตราการเจริญเติบโต ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารและต้นทุนค่าอาหารของโคนมพันธุ์โฮสไตน์ฟรีเชี่ยน
สรุป การทดสอบพันธุ์หญ้าแฝกเบื้องต้นจำนวน 17 สายพันธุ์ เพื่อให้ได้สายพันธุ์หญ้าแฝกที่ดีและมีวิธีการตัดหญ้าแฝกที่เหมาะสมสำหรับนำไปเลี้ยงสัตว์ ผลการศึกษาและทดสอบพันธุ์หญ้าแฝกพอสรุปได้ดังนี้ ผลปรากฏว่าพันธุ์หญ้าแฝกดอนให้ผลผลิตน้ำหนักแห้งเฉลี่ยได้มากกว่าหญ้าแฝกลุ่มแต่ปริมาณการกินได้ของสัตว์นั้นสัตว์จะชอบกินหญ้าแฝกลุ่มมากกว่าหญ้าแฝกดอน สำหรับการตัดหญ้าแฝกสายพันธุ์ประจวบคีรีขันธ์ที่เหมาะสมคือตัดทุกๆ 6 สัปดาห์ที่ระดับความสูง 40 เซนติเมตร
ส่วนการแปรรูปทำหมักนั้นก็มีความจำเป็นอย่างหนึ่งในช่วงฤดูแล้ง เพระจะทำให้มีอาหารเพียงพอและทำให้สัตว์มีการเจริญเติบโตได้ดีในระดับหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นผลพลอยได้จากการปลูกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำอีกด้วย
จบการนำเสนอ ขอบคุณ