ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวางแผนกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
Advertisements

Product and Price Management.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
รหัส หลักการตลาด.
Product and Price ครั้งที่ 8.
Product and Price ครั้งที่ 12.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
BA2301 หลักการตลาด การสื่อสารทางการตลาด
หลักการตลาด บทที่ 13 การส่งเสริมการตลาด.
หลักการตลาด บทที่ 16 การประชาสัมพันธ์.
ระบบการบริหารการตลาด
MK201 Principles of Marketing
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
บทที่ 6 พฤติกรรมผู้บริโภค.
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
พฤติกรรมผู้บริโภคกับการสื่อสารการตลาด
แผนโปรแกรมการสื่อสารการตลาด
การกำหนดกลยุทธ์การตลาด
การออกแบบช่องทางการตลาด (Marketing Channels Design)
ภาพรวมการตลาด ความหมายของการตลาด และ ตลาด ระบบตลาด แนวคิดทางการตลาด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
บทที่ 4 กระบวนการตัดสินใจ
Integrated Marketing Communication : IMC
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
สื่อการเรียนการสอน.
กระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและการวางแผน
Computer mediated communication
การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 การสื่อสารทางการตลาด โดยใช้สื่อการโฆษณา
Computer Application in Customer Relationship Management
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
สื่อโฆษณาเพื่อส่งเสริมการขาย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
บทที่ 17 อิทธิพลของสถานการณ์
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
บทที่ 10 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
บทที่ 3 การสื่อสารการตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 การค้าปลีก.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
บทที่ 4 การค้าส่ง.
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
บทที่ 9 การขายโดยบุคคล ความหมายของการขายโดยบุคคล
บทที่ 6 การสื่อสารการตลาด
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
การวัดการวิจัยในการตลาด
การผลิตรายการโทรทัศน์
บทที่ 4 ส่วนประสมการตลาด
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 11 อิทธิพลของสถานการณ์ (Situational influence)
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
บทที่ 7 การส่งเสริมการขาย
ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค การโฆษณาและพฤติกรรมผู้บริโภค (Advertising Consumer Behavior)

ความหมาย พฤติกรรมผู้บริโภค (consumer behavior) หมายถึง การกระทำใด ๆ ของบุคคลเพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้าหรือบริการ ที่ตอบสนองความต้องการของบุคคลนั้น ๆ ได้ การสื่อสารการตลาด เป็นกระบวนการนำเสนอสิ่งเร้าหลาย ๆ อย่าง บูรณาการประสานกันเป็นแผนชุดเพื่อสื่อความหมายถ่ายทอดไปยังตลาดเป้าหมาย โดยมีความมุ่งหวังเพื่อกระตุ้นให้ตลาดเป้าหมายเกิดการรับรู้ แปลความหมาย และตอบสนองตามที่ต้องการ โดยส่งผ่านช่องทางต่าง ๆ ที่กำหนดขึ้น การสื่อสารการตลาดยังรวมถึงจุดมุ่งหมายเพื่อปรับปรุง และเสริมสร้างข่าวสารของบริษัทในปัจจุบัน ให้มีความชัดเจนมากขึ้น และเพื่อกำหนดโอกาสที่จะทำการสื่อสารใหม่ๆในอนาคตอีกด้วย

สรุป พฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อการสื่อสารการตลาด สรุป พฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อการสื่อสารการตลาด เป็นการศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคเพื่อนำมาใช้ในการวางแผนงานการสื่อสารการตลาด และสามารถกำหนดเครื่องมือที่สอดคล้องกับกระบวนการในการตัดสินใจของผู้บริโภคได้

การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค ส่งผลต่อกิจกรรมทางการตลาดและการโฆษณาหลายประการเช่น 1. กำหนดรูปแบบสินค้าและบริการ 2. การออกแบบโฆษณาและการเลือกใช้สื่อ 3. การกำหนดกิจกรรมทางการตลาดอื่น ๆ เช่น การประชาสัมพันธ์ การจัดสัมมนา การจัดคอนเสิร์ต

ผลกระทบทางการตลาดที่เกิดจากแนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง ลักษณะครัวเรือนมีการเปลี่ยนแปลง การศึกษาสูงขึ้น - การโน้มน้าวใจยากขึ้น - ความภักดีต่อตราน้อยลง การแต่งงานช้าลง สนใจเรื่องสุขภาพมากขึ้น สนใจเปิดรับสื่อใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น ข้อจำกัดเรื่องเวลา

บทที่ 2 กระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค (Decision Making Process) 1. แบบจำลองกระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค โดย Henry Assael การตอบสนองกลับ(Feedback) สิ่งเร้า/แรงกระตุ้น กระบวนการค้นหาข้อมูล ผู้บริโภค การตัดสินใจ ผลตอบรับ (Stimuli) ( Information processing) (The consumer) ( Decision Making) (Response)

แบบจำลองกระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค โดย Hawkins, Best,Coney การตัดสินใจอย่างง่าย (Nominal Decision Making) เป็นการตัดสินใจซื้อสินค้าที่ไม่ต้องใช้ความคิดมากนัก เป็นสินค้าที่ไม่ต้องหาข้อมูลมากมาย อาจหาจากความทรงจำที่มีอยู่ในสมอง เป็นสินค้าที่ราคาไม่สูงมากนัก และก็อาจไม่ส่งผลกระทบอะไรในด้านภาพพจน์ เช่น ขนมขบเคี้ยว แปรงสีฟัน ดินสอ การซื้อเกิดจากความภักดีในตราสินค้า หรือเป็นการซื้อซ้ำก็ได้

แบบจำลองกระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค โดย Hawkins, Best,Coney (ต่อ) การตัดสินใจแบบจำกัดขอบเขต (Limited Decision Making) เกี่ยวพันกับข้อมูลภายในที่มีอยู่ในสมองของผู้บริโภค และหาข้อมูลภายนอกเพิ่มเติมบ้าง หาทางเลือกไว้ 2-3 ทางเลือกเพื่อนำมาใช้ในการตัดสินใจ ไม่ต้องใช้ความสลับซับซ้อนในการตัดสินใจ พิจารณาคุณสมบัติสัก 2-3 ประการก็เพียงพอ และมีการประเมินผลหลังการซื้อใช้บ้างเล็กน้อยเท่านั้น การตัดสินใจแบบนี้อยู่ระหว่างกลางระหว่างการตัดสินใจอย่างง่ายกับการตัดสินใจอย่างมาก เช่น ถ้าเราเข้าไปในร้านค้าแล้วหยิบกาแฟขึ้นมา 2 กล่อง เปรียบเทียบกัน โอยดูจากปริมาณและราคา ถ้าปริมาณเท่ากัน เราตัดสินใจเลือกราคาที่ถูกกว่า

แบบจำลองกระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค โดย Hawkins, Best,Coney (ต่อ) การตัดสินใจอย่างเต็มรูปแบบ (Extended Decision Making) เกี่ยวพันกับการหาข้อมูลจากภายในและข้อมูลจากภายนอกอย่างกว้างขวาง จะมีการประเมินทางเลือกจากหลาย ๆ ทาง และจะมีการประเมินผลหลังการซื้อใช้อย่างมีนัยสำคัญ การตัดสินใจที่ต้องใช้ความคิดและข้อมูลที่มากจะเกิดขึ้นกับสินค้าที่มีราคาแพง หรือมีความเสี่ยงสูง หรือ สินค้าที่ไม่คุ้นเคยมาก่อน ดังนั้นในแต่ละขั้นตอนของการตัดสินใจซื้อต้องทำอย่างเข้มงวด

โดยสรุปกระบวนการตัดสินใจซื้ออย่างเต็มรูปแบบมี 5 ขั้นตอน 1. การรับรู้ปัญหา (Problem recognition) 2. การค้นหาข้อมูล (Information Search) 3. การประเมินทางเลือก (Alternative evaluation) 4. การตัดสินใจซื้อ (Purchase) 5. การประเมินผลหลังการซื้อ (Post purchase)

วิธีการเร่งรัดการตัดสินใจ 4.1 สร้างความแตกต่าง (Differentiation) 4.1.1 ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) 4.1.2 ด้านราคา (Pricing) 4.1.3 สถานที่จำหน่าย (Place) 4.1.4 การส่งเสริมการขาย (Promotion) 4.2 ลดความเสี่ยง (Reduced perceived risk) 4.2.1 การรับประกัน 4.2.2 ภาพลักษณ์ของบริษัท 4.2.3 ภาพลักษณ์ของตราสินค้า 4.2.4 ภาพลักษณ์ของตัวบุคคล