Software Quality Management

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
Advertisements

Research and Development (R&D)
องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับโครงงานอิเล็กทรอนิกส์
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การประกันคุณภาพภายนอก
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การวางแผนกลยุทธ์.
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
บทที่ 15 การออกแบบระบบ.
สรุปข้อดีข้อเสีย Proprietary VS Off-the-shelf Software
ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
SCC - Suthida Chaichomchuen
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรกฤษณ์ สำราญใจ
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
Simple MRP Group กฤตนันท์ มณีรัตนาศักดิ์
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
บทที่ 15 Start การซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Next.
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
สมบูรณ์ บุญกิจอนุสรณ์ กองงานด่านอาหารและยา
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
PMQA Organization คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด6 12คำถาม.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
Chapter 6 Project Management
บทที่ 4 Plan การวางแผน.
Software Quality Assurance
ความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้
การพัฒนาระบบประยุกต์
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การจัดทำดัชนีชี้วัดและ การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
Lesson 10 Software Evolution
Chapter 1 Introduction to Software Engineering – Software Engineering Chaichan Kusoljittakorn 1.
หลักการเขียนโครงการ.
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
บทที่ 2 ภาพรวมกระบวนการ (A Generic View of Process)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Software Quality Management Software Development and Management

Outline Software Quality and Software Quality Management Quality Assurance Quality Planning Quality Control Software Measurement Techniques used for Quality Management

Quality คุณภาพ หมายถึง คุณสมบัติทุกประการของสินค้าและบริการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม(ISO8402, 1994) หมายถึง ระดับที่คุณลักษณะบางอย่างของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นมา สามารถเติมเต็มหรือตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของผู้ใช้ได้ (ISO9001, 2000)

Software Quality Management การจัดการคุณภาพของซอฟต์แวร์ หมายถึง วิธีการที่จะทำให้มั่นใจได้ว่าผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ที่ได้นั้นมีคุณภาพในระดับที่พอใจ (Sommerville, 2007) หมายถึง กิจกรรมด้านการจัดการทั้งหมด ได้แก่ กำหนดนโยบายคุณภาพ วัตถุประสงค์ และความรับผิดชอบด้านคุณภาพ แล้วนำไปปฏิบัติด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การวางแผนคุณภาพ การประกันคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ และการพัฒนาคุณภาพ (ISO8402,1994)

Software Quality Management ประกอบด้วย 3 กิจกรรมหลัก Quality Assurance Quality Planning Quality Control

ปัจจัยที่ควรพิจารณาในการจัดการคุณภาพซอฟต์แวร์ สร้างวัฒนธรรมและทัศนคติที่ดีต่อคุณภาพ ต้นทุนของคุณภาพ ต้นทุนการป้องการ ต้นทุนในการประเมิน ต้นทุนของความผิดพลาดภายใน ต้นทุนของความผิดพลาดภายนอก คุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ

ปัจจัยที่ควรพิจารณาในการจัดการคุณภาพซอฟต์แวร์ คุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ (ต่อ) Maintainability Dependability Efficiency Usability (Functionality) (Portability) ตามมาตรฐาน ISO/IEC9126

ปัจจัยที่ควรพิจารณาในการจัดการคุณภาพซอฟต์แวร์ คุณภาพของกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ การบวนการผลิตเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิตมีคุณภาพ -> ซอฟต์แวร์มีคุณภาพ สามารถใช้แบบจำลอง CMM หรือ CMMI มาใช้ในการปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการได้ Capability Maturity Model + Capability Maturity Model Integration The Capability Maturity Model (CMM) was originally developed as a tool for objectively assessing the ability of government contractors' processes to perform a contracted software project. The CMM is based on the process maturity framework first described in the 1989 book Managing the Software Process by Watts Humphrey. It was later published in a report in 1993 (Technical Report CMU/SEI-93-TR-024 ESC-TR-93-177 February 1993, Capability Maturity Model for Software, Version 1.1) and as a book by the same authors in 1995. Though the CMM comes from the field of software development, it is used as a general model to aid in improving organizational business processes in diverse areas; for example insoftware engineering, system engineering, project management, software maintenance, risk management, system acquisition, information technology (IT), services, business processes generally, and human capital management. The CMM has been used extensively worldwide in government offices, commerce, industry and software development organizations.[citation needed] he CMM model proved useful to many Citation needed|date=March 2011}}, but its application in software development has sometimes been problematic. Applying multiple models that are not integrated within and across an organization could be costly in training, appraisals, and improvement activities. The Capability Maturity Model Integration (CMMI) project was formed to sort out the problem of using multiple For software development processes, the CMM has been superseded by CMMI, though the CMM continues to be a general theoretical process capability model used in the public domain.

Quality Assurance การประกันคุณภาพ หมายถึง ระบบของนโยบาย วิธีการปฏิบัติ และเครื่องชี้นำที่ผู้บริหารใช้รับรองเพื่อให้สินค้าและการบริการเป็นไปตามมาตรฐานเฉพาะเจาะจง สอดคล้องกับคุณภาพผลิตภัณฑ์ตามที่กำหนดไว้ (Bovee, 1993) เป็นกระบวนการที่รับประกันว่าผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์และกระบวนการผลิตตลอดช่วงชีวิตของโครงการ เป็นไปตามความต้องการที่กำหนด ด้วยการวางแผน การประกาศใช้นโยบาย และการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อทำให้มั่นใจว่าซอฟต์แวร์ที่ผลิตจะมีคุณภาพสูงสุด (IEEE, 2004)

Quality Assurance ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน หรือได้ตามมาตรฐานที่กำหนด มีสองอย่างที่ต้องได้มาตรฐานคือ Product Standard เป็นมาตรฐานที่นำมาใช้วัดผลิตถัณฑ์ซอฟต์แวร์ Process Standard เป็นมาตรฐานที่ใช้วัดกระบวนการในการผลิต มาตรฐานของ ISO (International Standard Organization) ISO 9001 ISO 9002 ISO 9003

Quality Assurance Document Standard Documentation Process Standard: มาตรฐานของการบวนการจัดทำเอกสาร ดูขั้นตอนการผลิต format กระดาษ ซอฟต์แวร์ทีใช้สร้าง เป็นต้น Document Standard: มาตรฐานของตัวเอกสารเอง โดยดูโครงสร้าง และรูปแบบต้องได้มาตรฐานสอดคล้อง Document Interchange Standard: มาตรฐานในการแลกเปลี่ยนเอกสาร สามารถใช้ได้กับทุกสถาพแวดล้อม

Quality Planning คือ กระบวนการในการจัดทำแผนงานคุณภาพสำหรับโครงการ ซึ่งภายในแผนงาน ประกอบด้วย การกำหนดนิยามของคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ วิธีการประมินคุณภาพดังกล่าว โครงสร้างของเอกสารแผนคุณภาพประกอบด้วย Product Introduction Product Plan Process Description Quality Goal Risk and Risk Management

Quality Control (QC) คือ กระบวนการดูแลและควบคุมให้กระบวนการผลิตซอฟต์แวร์ ดำเนืนไปตามแผนงานการประกันคุณภาพและมาตรฐานต่างๆ อย่างครบถ้วน (Sommerville, 2007)

Quality Control (QC) วิธีการความคุมคุณภาพประกอบด้วย Quality Review: การทบทวนคุณภาพ Design and Program Inspection คือ การตรวจทานโปรแกรมหรือการออกแบบ เพื่อค้นหาข้อผิดพลาดหรือข้อบกพร่องในการออกแบบและการโปรแกรม Progress Review คือ การทบทวนความคืบหน้าของโครงการ ตรวจกระบวนการตรวจทานงาน งบประมาณที่ใช้ไป เป็นไปตามตารางแผนดำเนินงานหรือเปล่า Automated Software Assessment การประเมิณซอฟต์แวร์แบบอัตโนมัติ

Software Measurement การวัดซอฟต์แวร์ คือ กระบวนการวัด (measure) เพื่อให้ได้ค่าที่เป็นตัวเลขของคุณลักษณะบางอย่างของซอฟต์แวร์ (Software Attributes) หรือกระบวนการผลิตซอฟต์แวร์ (Software Development Process) วัดไปเพื่ออะไร เพื่อประเมินคุณภาพ เพื่อประมาณการต้นทุน บางอย่างวัดได้โดยตรง บางอย่างวัดออกมาเป็นตัวเลขลำบาก อาศัย Matrices มาเป็นดัชนีชี้วัดค่าต่างๆ (ตารางหน้า 307)