ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รูปแบบการดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูหลังน้ำท่วม
Advertisements

การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
VISION MISSION STRATEGIC MAP. วิสัยทัศน์ (VISION) งานสารสนเทศ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ เป็นศูนย์ สารสนเทศงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Hybrid.
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย รศ.ดร.นพ.พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช LL.B., M.D., Ph.D. ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 E-mail: pwiwata@mail.med.cmu.ac.th

ประสบการณ์การดำเนินงาน แผนงานสร้างเสริมสุขภาพ แรงงานนอกระบบในภาคการเกษตร

5) การปรับรุงระบบบริการสุขภาพที่มีอยู่ให้เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพของแรงานนอกระบบ โครงการ การสร้างเสริมความแข็งแกร่งด้านการสร้างเสริมสุขภาพให้กับองค์กรภาคบริการสาธารณสุขในภาคกลาง การสร้างระบบฐานข้อมูลสุขภาพและปัจจัยเสี่ยง จัดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อบันทึกการเฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากการทำงาน สร้างและจัดระบบบริการสุขภาพของสถานบริการในการทำงานให้เกษตรกร

ระบบข้อมูลสุขภาพและปัจจัยเสี่ยง ระบบฐานข้อมูลสถานีอนามัย :(HCIS) Health Center Information System การวิเคราะห์ ประมวลผล รูปแบบการจัดบริการ

ระบบฐานข้อมูลสถานีอนามัย : Health Center Information System (HCIS) MS Access 97 จัดการฐานข้อมูล ให้บริการสาธารณสุข ประมวลผล

การบันทึกข้อมูลการให้บริการ เพิ่มข้อมูลผู้ป่วยโรคจากการประกอบอาชีพ

การบันทึกข้อมูลผู้ป่วยโรคจากการประกอบอาชีพ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม

รายงาน MS Excel

ข้อมูล WEB BASE WEB SERVER

เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ที่จัดเตรียมเพื่อสนับสนุนหน่วยบริการ

สร้างรูปแบบการจัดบริการดูแลสุขภาพฯ ในสถานบริการ

ระบบบริการอาชีวอนามัยอันพึงประสงค์

ระบบบริการสุขภาพ “การดำเนินการเพื่อยกฐานะสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ดีขึ้นโดยมีกิจกรรมครอบคลุม 4 ด้านคือ การรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการฟื้นฟูสภาพ ทั้งนี้อาจดำเนินการโดยรัฐหรือประชาชนด้วยกันเอง”

แนวคิดระบบบริการสุขภาพ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในศูนย์สุขภาพชุมชน (Primary care unit) ขั้นตอนที่ 2 การค้นหา/ขยายพันธมิตร ขั้นตอนที่ 3 การสำรวจข้อมูลทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ ขั้นตอนที่ 4 การจัดเวทีกลุ่ม/ภาคีที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่ 5 การจัดทำฐานข้อมูลด้านสุขภาพและอาชีวอนามัย ขั้นตอนที่ 6 สร้างระบบบริการสุขภาพแรงงานนอกระบบทั้งเชิงรับและเชิงรุก

ประเภทของระบบบริการสุขภาพ 1. การบริการเชิงรุก ได้แก่ การจัดรูปแบบบริการที่เน้นด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 2. การบริการเชิงรับ การจัดรูปแบบบริการที่เน้นด้านการรักษาและฟื้นฟูสภาพ

ระบบบริการสุขภาพเชิงรุก การสำรวจสภาพการทำงานเบื้องต้น การจัดทำฐานข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลลงใน Family folder การให้บริการตรวจคัดกรองสุขภาพตามความเสี่ยง การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

ระบบบริการสุขภาพเชิงรับ การให้บริการในสถานพยาบาล / PCU การจัดทำระบบการบันทึกข้อมูลและรวบรวมรายงานที่สำคัญ การเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ การติดตามเยี่ยมผู้ป่วยโรคจากการประกอบอาชีพ และเสนอแนะการฟื้นฟูสุขภาพ รวมถึงการติดตามปรับปรุงสภาพการทำงาน

การขยายพันธมิตร/เครือข่าย การจัดบริการเชิงรับและรุก การพัฒนาจนท. การขยายพันธมิตร/เครือข่าย การสำรวจข้อมูล การจัดเวที การจัดทำฐานข้อมูล การจัดบริการเชิงรับและรุก