(Knowledge Management : KM)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนการจัดการความรู้ : ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคม
Advertisements

Knowledge Management (KM)
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
กระบวนการ KM มี 7 ขั้นตอน
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การศึกษาการจัดการความรู้ของบริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ จำกัด (มหาชน)
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
LO KM สร้างความรู้ใหม่ พัฒนางาน พัฒนาคน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
แผนยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๘
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
Participation : Road to Success
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
Theory in Knowledge Management (KM 701)
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มช.
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
Learning Organization & Knowledge Management
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(Knowledge Management : KM) การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)

การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) ความหมาย การจัดการความรู้ คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ใน ตัวบุคคล เอกสาร สื่อ มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ เกิดการพัฒนาตนเอง

วัตถุประสงค์การทำ Knowledge Management เพื่อเปลี่ยนความรู้ ที่ฝังในตัวบุคคล ที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ ทำเอง ทักษะ พรสวรรค์ (Tacit knowledge) ให้เป็นความรู้ที่รวบรวมแล้ว อยู่ในรูปแบบ ที่อ่านได้ง่าย เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ตำรา คู่มือ (Explicit Knowledge)

เป้าหมายของการจัดการความรู้ 1. พัฒนางาน 2. พัฒนาคน (ผู้นำ ผู้ตาม ผู้ปฏิบัติ) 3. พัฒนาองค์กร พัฒนาชุมชน-เครือข่าย สังคม สิ่งแวดล้อม = พัฒนาศักยภาพคุณภาพ

ลักษณะความรู้ กฎ ระเบียบ คู่มือ แผนปฏิบัติการ ทักษะ ประสบการณ์ ความรู้แบบชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) 20% ลักษณะความรู้ กฎ ระเบียบ คู่มือ แผนปฏิบัติการ ทักษะ ประสบการณ์ พรสวรรค์ สัญชาตญาณ ความคิดริเริ่ม ความรู้แบบซ่อนเร้น (Tacit Knowledge) 80%

องค์ประกอบสำคัญของการจัดการความรู้ (Knowledge Process) คน (ร่างกาย จิต จิตวิญญาณ) 2. เทคโนโลยี (เครื่องมือ อำนวยความสะดวก) กระบวนการความรู้ (ค้นหา ติดตั้ง ถ่ายทอด นวัตกรรม)

7 ขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 1. การบ่งชี้ความรู้: ที่มา ความสำคัญ -วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ -ความรู้ใหม่ ความรู้เก่า -ความรู้จากภายนอก ความรู้จากภายใน -ความรู้ที่ต้องรักษา ความรู้ที่ต้องกำจัดออกไป

7 ขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ -หมวดหมู่ -คุณค่า คุณประโยชน์ (ความรู้ที่ต้องรักษา ความรู้ที่ต้องกำจัดออกไป) -ชุมชนแห่งความรู้ (หลักสูตร โครงการ โครงงาน แผนปฏิบัติงาน)

7 ขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ -ปรับปรุงรูปแบบ -ปรับปรุงเนื้อหา 5. การเข้าถึงความรู้ของผู้ใช้ -วิธีเผยแพร่ โฆษณา ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ -วิธีฝึกอบรม -วิธีสร้างสถานการณ์ / โฆษณาชวนเชื่อ / โฆษณาโน้มน้าว

7 ขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 6. การแลกเปลี่ยนความรู้ (ช่องทางในการแลกเปลี่ยน) -เอกสาร -ฐานความรู้ -สารสนเทศ -ชุมชนแห่งความรู้ / พี่เลี้ยง / ฝึกงาน / การยืมตัว / เวทีแลกเปลี่ยนความรู้

7 ขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 7. การบูรณาการ องค์ความรู้สู่วิถีชีวิตและการงานอาชีพ

หัวใจสำคัญของการจัดการขุมทรัพย์ความรู้ ๑. เป็นการเก็บแบบสั่งสม(Accumulation) ไม่ใช่การสะสม(Collection) จึงไม่ใช่ปู่โสมเฝ้าทรัพย์ ๒.กำหนดรูปแบบ ประเภท การจัดเก็บ การลงทะเบียน ให้ง่ายต่อการนำไปใช้ต่อหรือต่อยอดได้ ๓.มีการกำหนดเวลาการทบทวนเพื่อให้ความรู้ เหมาะสมกับการใช้งาน ๔,องค์ความรู้สามารถปรับเปลี่ยนได้ คือปรับให้ เหมาะสมกับสถานการณ์และเปลี่ยนแปลงให้ สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าได้

TUNA Model ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” Knowledge Sharing (KS) ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Knowledge Vision (KV) Knowledge Assets (KA) ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร”

คนสำคัญ ที่ดำเนินการ จัดการความรู้ ๑.ผู้บริหารระดับสูง ๓.คุณอำนวย ๒.คุณเอื้อ ๔.คุณกิจ ๕.คุณประสาน

ไม่คิดแยกส่วน คิดอย่างเป็นกลาง รู้สภาพตามความเป็นจริง คิดกว้าง

Positive Thinking (คิดเชิงบวก) คิดอย่างเข้าใจ ให้อภัย ให้โอกาสตนเอง ผู้อื่น มีทัศนคติเชิงบวกในการดำรงชีวิต

Lateral Thinking คิดเชิงบุก จงคิดแบบเด็ก

Assets การจัดการขุมทรัพย์ความรู้

ถามใจตัวเองเมื่อจะนำการจัดการความรู้มาใช้ เรา(องค์กร)จะทำจัดการความรู้เพราะอะไร หรือจะทำไปทำไมเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญมาก ที่สุดต่อความสำเร็จ 1.เห่อตามแฟชั่น ทำตามๆกันไป จะได้ไม่ตกยุค 2.มีงบสนับสนุนมาให้ มีคนมีเครื่องมืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 3.ถูกบังคับให้ทำและต้องถูกประเมิน 4.แรงจูงใจอย่างแรงกล้าที่จะพาองค์กรสู่ ความเป็นเลิศด้วยการจัดการความรู้

ข้อควรระวัง การทำ KM เสพติด KM ยึดติด รูปแบบ ได้ทำ KM สนุกสนานกับ KM

สรุปหัวใจสำคัญของการจัดการความรู้ 2 ทำโดยไม่รู้ว่าทำ ไม่ต้องวัด KM ก็ได้ แต่ผลลัพธ์ขององค์กร ต้องดีขึ้น เราไม่ได้ทำนาแค่ต้องการปลูกข้าวกี่ต้นแต่เราทำนาเพื่อต้องการข้าวกี่ถัง 1 การจัดการความรู้ ไม่ทำไม่รู้ ไม่รู้ต้องทำ ทำไปรู้ไป อยากรู้รสสาลี่ ต้องกินสาลี่ เพื่อแน้นย้ำของ การปฏิบัติ 3 การจัดการความรู้ จึงเป็นเครื่องมือไม่ใช่เป้าหมาย ต้องดำเนินการในลักษณะบูรณาการอยู่ในงานประจำ ไม่ถือเป็นกิจกรรมที่แยกจากงานประจำ ไม่ใช่งานเพิ่ม

สรุปหัวใจสำคัญของการจัดการความรู้ 5 การจัดการความรู้ และองค์การแห่งการเรียนรู้ เป็นสิ่งที่แยกกัน ไม่ออก ต้องทำ ไปด้วยกัน เพราะแยกกันไม่ออก 4 เน้นการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างคน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ที่ฝังลึก แบบเต็มใจ ไม่ใช่บังคับ 6 เน้นกระตุ้นให้มีการถ่ายทอดความรู้อย่างเป็นธรรมชาติ แทนที่จะยัดเยียด รูปแบบ ที่คิดขึ้นอย่างมีเหตุผลเข้าไปในตัวมนุษย์

ระบบการจัดการความรู้ ของ สพจ.เชียงใหม่ เพื่อสร้างความเข้าใจ ประชุมชี้แจง/ทำความเข้าใจ เพื่อมอบหมายความรับผิดชอบ จัดตั้งคณะทำงานระดับจังหวัด เพื่อได้ผลผลิต กระบวนการดำเนินงาน

กระบวนการดำเนินงาน กำหนดความรู้ที่จำเป็น จัดทำคลังความรู้ จัดเก็บและรวบรวม เผยแพร่/แลกเปลี่ยน จัดหมวดหมู่ความรู้ รายงานผล

มีองค์ความรู้ ที่จำเป็น ผลผลิต มี KM ทีม มีองค์ความรู้ ที่จำเป็น มีคลัง ความรู้ เข้าถึงง่าย มีกิจกรรม เวทีแลก เปลี่ยน

แบบบันทึกองค์ความรู้

แบบบันทึกองค์ความรู้ รูป ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................... ตำแหน่ง.......................................................................................................... สังกัด............................................................................................................... เบอร์ติดต่อ...................................................................................................... ชื่อเรื่อง............................................................................................................ เป็นการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ........................................................................... เหตุการณ์เกิดขึ้นเมื่อ....................................................................................... สถานการณ์ที่เกิดขึ้น...................................................................................... เนื้อเรื่อง........................................................................................................... บันทึกขุมความรู้.............................................................................................. แก่นความรู้....................................................................................................... กลยุทธ์ในการทำงาน....................................................................................... กฎระเบียบ แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง............................................................. (ตัวอย่างในเอกสารที่แจกให้)

การจัดการความรู้เป็นการเดินทาง ไม่ใช่เป้าหมายปลายทาง สุภาษิต การจัดการความรู้เป็นการเดินทาง ไม่ใช่เป้าหมายปลายทาง ความรู้เพียงเล็กน้อย เพื่อปฏิบัติมีค่ามากกว่า ความรู้มหาศาลที่อยู่เฉย ๆ ความรู้อยู่ในผู้ใช้ ไม่ใช่อยู่ในแหล่งรวมความรู้

สวัสดีเจ้า