โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen) ขั้นตอนที่ 3 รวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับปัญหา ที่จะศึกษาในชั้นเรียน โครงการ CCE @ นครพนม
ขั้นตอนที่ 3: รวบรวมข้อมูลของปัญหาที่คัดเลือก หลังจากสิ้นสุดการบรรยายในหัวข้อนี้ ผู้เข้าร่วมควรเข้าใจถึงวิธีการต่างๆ ดังนี้: ระบุได้ถึงแหล่งที่มาของข้อมูลและเนื้อหาเพื่อใช้สำหรับปัญหาที่คัดเลือก หาวิธีการและขั้นตอนในการรวบรวมข้อมูลและเนื้อหาที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหา ทบทวนและประเมินข้อมูลและเนื้อหาที่ทางกลุ่มหามาได้ ประมวลเป็นกิจกรรมเสนอแนะในการแก้ปัญหา สรุปเป็นนโยบาย/โครงการ เลือกข้อมูลและเนื้อหาที่เหมาะสมเพื่อใส่ในผังนิทรรศการ (Display Portfolio) และแฟ้มเอกสาร (Documentation Binder)
ปัญหาสิ่งแวดล้อม (น้ำ) ใคร ปัญหาสิ่งแวดล้อม (น้ำ) ใคร? รับผิดชอบต่อปัญหานี้ ข้อมูลที่ต้องการ ใช้วิธีการใด ข้อมูลที่ได้ กิจกรรมเสนอแนะ โครงการ/นโยบาย
1.การระบุแหล่งข้อมูล (1)ห้องสมุด (2)สำนักงานหนังสือพิมพ์ (3)อาจารย์ และนักวิชาการ (4)ทนาย นักกฎหมาย หรือผู้พิพากษา (5)องค์กรชุมชน และกลุ่มผลประโยชน์ (6)สำนักงานด้านนิติบัญญัติ (7)องค์กรบริหาร (8)เครือข่ายข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
2.การได้รับ และบันทึกข้อมูล การสืบค้นสื่อสิ่งพิมพ์จากห้องสมุด และ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือแหล่งข้อมูลอื่นๆ การหาข้อมูลทางโทรศัพท์ การสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง การเขียนจดหมายเพื่อขอข้อมูล
กรณีตัวอย่าง การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษาในชั้นเรียน โครงการ 1 โรงเรียน 1 สวนป่า โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำปาง
ห้องสมุด หนังสือ กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์ลินครอน์ โปโมรชั่น. นิวัติ เรียงพานิช (2542). การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์ลินครอน์ โปโมรชั่น. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช2540. (2546). (พิมพ์ครั้งที่ 5).กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์สยามสปอร์ต ซินดิเคท จำกัด. วรทิพย์ มีมาก(2548). สาระการเรียนรู้พื้นฐานหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนิน ชีวิตในสังคม. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.
สำนักงาน หนังสือพิมพ์ ข่าวการจับกุมผู้กระทำความผิดตัดไม้.(2549, เมษายน 10 -16).คนเมืองเหนือ. หน้า 1. ข่าวการจับกุมผู้กระทำความผิดตัดไม้. (2549,เมษายน 7 -13). ลานนาโฟสต์. ภาพและข่าวการระบายน้ำออกจากถนนพหลโยธิน ย่านนาก่วม เขตเทศบาลนคร ลำปาง ที่เกิดจากการเกิดน้ำท่วมครั้งใหญ่. (2549, มิถุนายน 5 -11). คนเมืองเหนือ. หน้า 1.
หน่วยงาน องค์กร เอกสารเผยแพร่ หน่วยงาน องค์กร เอกสารเผยแพร่ ตำรวจภูธรจังหวัดลำปาง,สถานี.(2549).การตรวจจับการกระทำความผิดต่อ พรบ.ป่าไม้ใน เขตพื้นที่จังหวัดลำปาง ประจำเดือนมิถุนายน 2549. ที่ทำการปกครองจังหวัดลำปาง.(2549). พื้นที่ป่าไม้ของจังหวัดลำปางถูกบุกรุกเข้าครอบครอง. เทศบาลนครลำปาง.(2548) สภาพความเสียหายจากการเกิดน้ำท่วมในช่วงเดือนกันยายน 2548.
เครือข่ายข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ นโยบายป่าไม้แห่งชาติ [Online].(2549, ,กรกฎาคม 12). http://www.forwest.go.th/efd/. policy/ policy_t...htm. นโยบายของรัฐบาล [Online].(2549, พฤศจิกายน 6). http://www.thalogov.go.th.download/289 คำแถลงนโยบาย.pdf
สื่อบันทึกภาพ( CD-Rom) เขลางค์นคร เคเบิลทีวี จำกัด, บริษัท(ผู้สร้าง).(2548). ภาพและข่าวการเกิดอุทกภัยของจังหวัดลำปาง ในปีพ.ศ. 2548.
การสัมภาษณ์บุคคล ชาตรี ทาไชยวงศ์.(2549, กรกฎาคม 14). บรรณาธิการหนังสือพิมพ์ลำปางนิวส์. สัมภาษณ์. ประชา ตันจริยานนท์. ( 2549, กรกฎาคม 23). ผู้อำนวยการสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 สาขาลำปาง. สัมภาษณ์. ไ พรเวศ ศรีบุตรภา. ( 2549, กรกฎาคม 23). นักวิชาการป่าไม้ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ ที่ 13 สาขาลำปาง. สัมภาษณ์. วิชัย พรหมศิลป์.(2549, กรกฎาคม 25) ผู้จัดการบริษัทเขลางค์นคร เคเบิลทีวี จำกัด. สัมภาษณ์. สาโรจน์ เกษมถาวรศิลป์.(2549, สิงหาคม 17). ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดลำปาง.
ถาม & ตอบ แลกเปลี่ยน เรียนรู้