1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

Innovative Solution Integration Co, Ltd
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
เรื่อง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
ขอต้อนรับคณะผู้ตรวจประเมินฯ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
หมวด2 9 คำถาม.
การพัฒนาระบบราชการ กับ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
การพัฒนาองค์กร กรมอนามัย เรื่อง PMQA
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับ ความสำเร็ จของการ พัฒนา คุณภาพ การบริหาร จัดการ ภาครัฐ (PMQA) หมวด 7 RM 6 ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับ ความสำเร็ จของการ พัฒนา คุณภาพ.
ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับความสำเร็จของ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ (PMQA) หมวด 7 RM 6.
บก.วน. ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2551 รวม 4 มิติ มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ดัชนีชี้วัดระดับบุคคล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญของบุคคลแต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของบุคคล.
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Road Map KM 2551.
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
ระบบบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
การจัดทำดัชนีชี้วัดและ การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การกำหนด การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
ยินดีต้อนรับ ผู้อำนวยการกองพัสดุ และคณะ วันพุธที่ 6 สิงหาคม 2557.
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง ประชุม Competency 1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง

หัวข้อเรื่อง Competency กับคำรับรองการปฏิบัติราชการ Road Map ในเรื่องการพัฒนา Core Competency ของศูนย์ ฯ Core Competency ,เกณฑ์การให้คะแนน Core Competency ให้เหมือนกันทั้งศูนย์ (พูด 10 คนเหมือนกันทั้ง 10 คน พูด 10 ครั้งเหมือนกันทั้ง 10 ครั้ง)

Competency กับคำรับรองการปฏิบัติราชการ ความสำคัญ ความหมาย จะค้นหาหรือศึกษาได้จากไหน

กรมอนามัย การพัฒนาองค์กร แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี KPI 16 ระบบ PMQA. หมวด1 หมวด2 หมวด3 หมวด4 หมวด5 หมวด6 หมวด7 KPI 1, 2, 3, 4, ,17 KPI 6, 7.1, KPI 12, 14 KPI 7.2 13.1 13.2 KPI 5,8,9, 10.1,10.2, 11 13.3,16 ประเมินผลลัพธ์ KPI 1-3 บรรลุเป้าหมาย กสธ./ กลุ่มภารกิจ/กรม KPI 4 บรรลุเป้าหมายภารกิจหลัก KPI 5 คุณภาพบริการตามภารกิจ KPI 6 สร้างการมีส่วนร่วม KPI 7.1 เปิดเผยข้อมูลฯ KPI 7.2 ปราบปรามทุจริต KPI 8 เบิกจ่ายงบลงทุน KPI 9 การประหยัดพลังงาน KPI 10.1 การลดรอบระยะเวลาปฏิบัติงาน KPI 10.2 ปรับปรุงระบบงาน(BP) KPI 11 การจัดทำ ต้นทุน KPI 12 KM. KPI 13.1 HR plan KPI 13.2 พัฒนาCompetency (BP) KPI 13.3 ถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่องค์กร/บุคคล KPI 14 พัฒนาระบบ ICT. KPI 17 RM. KPI 15 แผนพัฒนากฎหมาย X

สรุป ความสำคัญ กพร.กำหนด Competency เป็นเครื่องชี้วัด 13 นำ Competency มาใช้เรื่อง Performance Management

ความหมาย

Road Map สำหรับการพัฒนา competency Structure หรือทีมงาน (อยากมีตัวแทนทุกกลุ่มงาน/ฝ่าย เพื่อรับผิดชอบเรื่อง HRD) การประชุมผู้บริหารศูนย์ฯ (31 ม.ค.50) เพื่อ กำหนด Road Map กำหนดนิยามของ Core Competency ประชุมเจ้าหน้าที่ศูนย์ ฯ (1 ก.พ.50) เพื่อ ชี้แจง ความสำคัญ/ความหมายของ Competency. ชี้แจง Road Map ในการพัฒนา Competency. ชี้แจงนิยาม และ เกณฑ์การให้คะแนนในส่วนของ Core Competency

Road Map สำหรับการพัฒนา competency ประชุมผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร ผู้บริหารเพื่อจัดทำโครงการ/กิจกรรม เพื่อพัฒนา Core Competency (2 ก.พ.50) เน้นวิทยากรภายใน เจ้าหน้าที่ทุกคนประเมิน Core Competency (Pre Test) ช่วงเดือน กุมภาพันธ์ 2550 เน้น ใช้เกณฑ์การให้คะแนนเดียวกัน ประเมินตามสภาพความเป็นจริงให้มากที่สุด ประเมินเสร็จส่งหัวหน้างาน เพื่อช่วยกันดูว่าประเมินต่ำ/สูงกว่าความจริงหรือไม่ การประเมินตนเอง จะทำให้เจ้าตัวรู้ว่าน่าจะเข้าร่วมกิจกรรมตามที่ข้อ 4 จัดไว้ในเรื่องใด

Road Map สำหรับการพัฒนา competency พิจารณาส่วนขาด(โอกาสพัฒนา) เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ตามที่ข้อ 4 จัดขึ้น ประเมิน Core Competency ซ้ำ (Post test) ประเมินเดือน สิงหาคม 2550 และทำการเปรียบเทียบกับการประเมินในช่วงเดือน กุมภาพันธ์ 2550 จำนวนคะแนน Post test – Pre Test จะใช้เป็นดัชนีบ่งความสำเร็จของการพัฒนา Competency เพื่อไม่ให้เกิดการกดดันมากเกินไป (ขอความกรุณาอย่าเจตนาให้คะแนน Pre test ต่ำกว่าความเป็นจริง หรือ Post Test สูงกว่าความเป็นจริง )

Core Competency และเกณฑ์ในการให้คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน Core Competency แบ่งระดับ Co_1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ Co_5 ภาวะผู้นำ Co_6 การประสานงาน&การสื่อสาร Co_7 การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง Co_9 การบริหารการเปลี่ยนแปลง (ผ่านข้อ Key + 1 ข้อของแต่ละระดับ) ไม่แบ่งระดับ Co_2 การทำงานเป็นทีม (ผ่าน 10/13) Co_3 จิตสำนึกบริการ(ผ่าน 10/14) Co_4 จริยธรรม(ผ่าน 6/8) Co_8 ความสามารถด้าน IT (ผู้ปฏิบัติ ผ่าน 6/6 ผู้บริหาร C8,C9 ผ่าน 4/6)