การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

Health Promotion & Prevention
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
การบูรณาการด้านนโยบายและกลไกทางการเงิน
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนเชิงรุกการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2551 โดยคณะทำงานยกร่างแผนงานเชิงรุก กระทรวงสาธารณสุข-สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นพ.ชูวิทย์
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
เกณฑ์การประเมิน องค์กรต้นแบบไร้พุง
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
DPAC Module1 Introduction to DPAC
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช. PP Nat. Priority PP exp. demand PP area based PP com 37.50 15.36 109.86 31.0 Vertical Program PP ตำบล37.50 PP กองทุนตำบล PPA เขต PPA จว./อำเภอ

National Priority Program หลักการ เป็นแผนงานระดับชาติ ที่ต้องมี Preventive & Cost Benefit กับประชากรไทย ข้อเสนอ 1. ต้องมีหลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีดำเนินการของ NPP ชัดเจน มีคณะผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้กำกับทิศทาง 2. ระยะเวลาสิ้นสุดไม่เกิน 3 ปี และให้บูรณาการเข้าระบบปกติ (Service Function) 3. ผ่านขั้นตอนทำ Model Development แล้ว

National Priority Program ปี 2552  สุขภาพดี วิถีชีวิตไทย (เน้น เบาหวาน ภาวะอ้วน)  อนามัยเด็ก 0-5 ปี (นมแม่ พัฒนาการ สุขภาพช่องปาก)  คัดกรองมะเร็งปากมดลูก

สถานการณ์โรคเรื้อรังใน lower middle income counties โรคเรื้อรังเป็นสาเหตุการตายทั่วโลก ร้อยละ 75 การประมาณการตายใน lower middle income counties (รวมทั้งประเทศไทย) เกิดจากโรคเรื้อรัง โดย  การประมาณการตายทั้งหมดในปี 2005 = 17,749,000 คน  เป็นการตายจากโรคเรื้อรังในปี 2005 = 13,233,000 คน องค์การอนามัยโลกได้ประมาณการตายในรอบ 10 ปี ข้างหน้า ดังนี้  144 ล้านคน ตายจากโรคเรื้อรัง  การตายจากโรคติดเชื้อ, แม่และเด็ก, และการขาดสารอาหาร จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 2 การตายจากโรคเรื้อรัง จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากเบาหวาน

สาเหตุสำคัญเกิดจาก  การเพิ่มขึ้นของภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน  การเพิ่มขึ้นของภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน  คาดประมาณว่าความชุกของภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนใน middle income country จะเพิ่มขึ้น ภายใน 10 ปี ข้างหน้า

สถานการณ์โรคเรื้อรังในประเทศไทย ร้อยละ 59 ของการตายในปี 2002 ในประเทศไทยเกิดจากโรครื้อรัง โดย  การตายทั้งหมดของประชากรไทยในปี 2002 = 419,000 คน  การตายจากโรคเรื้อรังในประชากรไทยในปี 2002 = 245,000 คน

สำรวจปี 47  คนไทยกินผักและผลไม้เพียง 275 กรัม/คน/วัน (มาตรฐาน 400 กรัม/คน/วัน)  เคลื่อนไหวหรือออกกำลังกายลดลง จากร้อยละ 83.2 (ปี 48) เหลือร้อยละ 78.1 (ปี 49)  อ้วนและลงพุง  เพศชายเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 24 ในปี 50 เป็นร้อยละ 40.6 ในปี 51  เพศหญิงเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 60 ในปี 50 เป็นร้อยละ 68.04 ในปี 51

สาเหตุสำคัญเกิดจาก จะเพิ่มขึ้น ภายใน 10 ปี ข้างหน้า  การเพิ่มขึ้นของภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน  คาดประมาณว่าความชุกของภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ในประเทศไทย จะเพิ่มขึ้น ภายใน 10 ปี ข้างหน้า

แนวทางการแก้ไข  อย่างน้อยร้อยละ 80 ของ premature death ของโรคหัวใจ, Stroke, และ DM Type 2 สามารถป้องกันได้ด้วยการรับประทานอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดี, การออกกำลังกายสม่ำเสมอ, และการหลีกเลี่ยงบุหรี่  การดำเนินการป้องกันควบคุมในระดับประชากรร่วมกับระดับบุคคล เป็นการดำเนินการที่คุ้มทุน

มาตรการหลักในการลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มาตรการที่ 1. ระบบการเฝ้าระวังติดตามพฤติกรรมสุขภาพ และการคัดกรอง ความเสี่ยงโรคอ้วนลงพุงและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2 ระดับ (ระดับชุมชนและระดับสถานบริการ) มาตรการที่ 2. การสร้างความตระหนัก การให้ความรู้ในวงกว้างและการรณรง สร้างกระแสเน้นเรื่องการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต มาตรการที่ 3. การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมและลดเสี่ยงในชุมชน

มาตรการหลักในการลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ต่อ) มาตรการที่ 4. การให้คำปรึกษาและปรับพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย ในสถานบริการ มาตรการที่ 5. การจัดการความรู้ และการเสริมสร้างศักยภาพผู้ดำเนินงานตาม แผนงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคที่มีความสำคัญระดับชาติ ให้มีความเข้มแข็ง มาตรการที่ 6. การนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล

ความคาดหวัง  ทราบปัจจัยเสี่ยงในแต่ละพื้นที่  ทราบปัจจัยเสี่ยงในแต่ละพื้นที่  กลุ่มเสี่ยงได้รับบริการต่อเนื่อง