แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ โครงการเตรียมความพร้อมบุคลากรอุตสาหกรรมท่องเที่ยวตามกรอบคุณวุฒิวิชาชีพ Prior Learning Recognition (PLR)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
Advertisements

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เพื่อรับการประเมินภายนอก
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
โครงการขับเคลื่อนกรอบ คุณวุฒิแห่งชาติ สู่การจัดการเรียนการสอน สถานศึกษาเอกชนประเภท อาชีวศึกษา.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การ ปฏิบัติ ผู้รับผิดชอบโครงการ ๑ นาวาอากาศเอก อัชฌา แย้มเกษร (GROUP CAPTION ATCHA YAMKESORN) ๒ เรืออากาศเอก วัชรพงศ์
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ. ศ
กรอบการเจรจาความตกลงด้านมาตรฐาน และการตรวจสอบและรับรอง ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards.
แผนขับเคลื่อน ของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อสนองยุทธศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ.
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ชื่อหน่วยงาน ฝ่าย/งาน ก.
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
กระบวนงานการจัดการแข่งขันฝีมือแรงงาน
นางณัฐชนัญ ศุภพิพัฒน์
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
การกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานของผู้ประกอบอาชีพ
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
การวิเคราะห์ Competency
โครงการพัฒนาบุคลากรที่มีศักยภาพสูง Talent Management
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประเมินคุณภาพภายใน โดยต้นสังกัด
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การทดสอบและออกหนังสือรับรองบุคลากร ส่งเสริมงานความปลอดภัย ในการทำงานเฉพาะด้าน ประกาศ 8 พฤษภาคม 2557.
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
แผนยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๘
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
AEC WATCH จับตาเปิดเสรีภาคบริการ สาขาการศึกษา
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ดัชนีชี้วัดระดับบุคคล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญของบุคคลแต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของบุคคล.
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2555 – 2559) รศ. โรม จิรานุกรม รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ - คิดค้น พัฒนาดัดแปลง และผลิตเครื่องจักรกล เครื่องมือ.
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ขับเคลื่อนนโยบาย ประการ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แผนการดำเนินงาน หน่วยงานการพยาบาลวิสัญญี
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพ
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ โครงการเตรียมความพร้อมบุคลากรอุตสาหกรรมท่องเที่ยวตามกรอบคุณวุฒิวิชาชีพ Prior Learning Recognition (PLR) for Thai Hospitality and Tourism industry คณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (Academic sub-committee, Tourism council of Thailand)

ในข้อตกลงร่วมกันว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน (ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professionals) เพื่ออำนวยความสะดวกการเดินทางไปยังภูมิภาคอาเซียนและเพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขันกับภูมิภาคอื่น

วัตถุประสงค์ ๑. ทดสอบและประเมินบุคลากรที่ทำงานในตำแหน่งงาน เพื่อคุณวุฒิวิชาชีพ ๒. จัดการอบรมตามความขาดแคลนแรงงาน ตามหลักสูตร Competency-Based Training   เป้าหมาย เชิงปริมาณ (Quantity) บุคลากรในอุตสาหกรรมบริการและการท่องเที่ยว 300,000 ราย ทำตาม 242 สมรรถนะ เชิงคุณภาพ (Quality) สามารถเพิ่มคุณลักษณะพิเศษแสดงความเป็นไทยได้

สถานที่ โรงแรมและสถานประกอบการที่เกี่ยวข้องที่เป็นสมาชิกสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และบริษัททัวร์ในสมาคม ATTA เกณฑ์ ใช้เกณฑ์ของ ASEAN MRA พัฒนาเกณฑ์ร่วมกับ สำนักงานทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และสถาบันคุณวุฒิแห่งชาติ

แผนปฏิบัติการ ยุทธศาสตร์ มาตรการ/วิธีการ (How) กลุ่มเป้าหมาย (who/where) ระยะเวลา (when) การทดสอบบุคลากรในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวตาม ASEAN MRA   การอบรมบุคลากรตาม ASEAN MRA ใช้สมรรถนะมาตรฐานทั้ง 242 มาตรฐาน พนักงานที่ทำงานในสถานประกอบการ 2 ปี

(ในระยะเวลา 2 ปี) ทรัพยากร อนุกรรมการวิชาการ สภาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (Academic Sub-committee, TCT) คณะกรรมการอาชีวะศึกษา คณะกรรมการศึกษานอกโรงเรียน คณะกรรมการอุดมศึกษา กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน สำนักทดสอบมาตราฐานอาชีพ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในแต่ละอาชีพ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) งบประมาณ สำหรับ 300,000 คน * 20,000 บาท เป็นเงิน 600,000,000 บาท (ในระยะเวลา 2 ปี)

ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ จำนวนผู้ผ่านการประเมินคุณวุฒิ ASEAN MRA ในระดับ 1 – 3 คู่มือแนะนำมาตรฐานสมรรถนะ คู่มือการอบรมที่ใช้สมรรถนะเป็นฐาน คู่มือการประเมินที่ใช้สมรรถนะเป็นฐาน   ประเมินผล ประเมินผลการดำเนินงานโดย TPQI (สถาบันการประเมินคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ) และสำนักทดลสอบมาตรฐานอาชีพ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผู้ที่ปฏิบัติงานในสถานประกอบการปัจจุบัน สามารถผ่านการประเมิน ASEAN MRA ร้อยละ 70 ขึ้นไป