Plant disease in dairy life

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
อาหารหลัก 5 หมู่.
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ควบคุมโรคแอนแทรกโนสของมะม่วงเพื่อการส่งออกได้อย่างไร
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
หากไม่มีการช่วยกันแก้ไขปัญหาโลกร้อนในวันนี้ ในอนาคตจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร 1. ทำให้ฤดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเร็วขึ้น.
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
เป็น supplement technology ในระหว่างการขนส่ง การเก็บรักษาระยะสั้น (short-term storage) หรือการเก็บรักษาระยะยาว (long-term storage) ในผักและผลไม้บางชนิด.
การขนส่งผักและผลไม้.
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
II. Post harvest loss of cereal crop
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
เทคโนโลยีการแปรรูปขั้นต้นของผักและผลไม้ โดย ผศ
สายใยในผัก โดย กลุ่ม รักสุขภาพ.
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
สารต้านอนุมูลอิสระในอาหารไทย
ความหลากหลายทางชีวภาพ
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
มาตรฐานสินค้าเกษตร “ลำไย”
(B2E Rice Bran Oil and Germ)
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
* นมพาสเจอร์ไรส์ : นมที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อน เพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคให้อยู่ในระดับที่ ปลอดภัย ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ โดยใช้ความร้อนที่
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Plant disease in dairy life

วัตถุประสงค์ รู้จักชนิดของผลผลิตทางการเกษตร รู้สาเหตุของความเสียหายที่เกิดกับผลผลิตและการป้องกัน รู้จักโรคของผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว รู้การป้องกันพอสังเขป

หนังสืออ่านประกอบ 1. จริงแท้ ศิริพานิช. 2542. สรีรวิทยาและเทคโนโลยี หลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้. กรุงเทพฯ :สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2. Neerguard, P. 1970. Seed Pathology. New York :APS Press.

นอกเหนือจากความผิดปกติ หรือโรคพืชที่เราพบในแปลงแล้ว บางคนอาจเคยเห็นโรคพืชในแปลง บางคนไม่เคยเห็น แต่เมื่อเก็บเกี่ยวมาแล้ว นำมาวางขาย เราอาจพบความผิดปกติหรือโรคบ้าง

เคยเห็นอย่างนี้บ้างหรือไม่..... ?

ความเสียหายของผลผลิตหลังเก็บเกี่ยว ทั้งหมดนี้เราเรียกว่า ความเสียหายของผลผลิตหลังเก็บเกี่ยว post harvest losses of agricultural product หลัง เก็บเกี่ยว เสียหาย ผลผลิต

ผลผลิตทางการเกษตรแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ perishable crop (ผลผลิตทางพืชสวน) cereal crop (ผลผลิตทางพืชไร่)

เปรียบเทียบลักษณะของผลผลิต, FAO 1998 - มีน้ำเป็นองค์ประกอบ 10-20% - อัตราการหายใจ, คายความร้อนต่ำ - ค่อนข้างแข็งแรง ทนทาน - ขนาดเล็ก 1 กรัม - เก็บได้นานกว่า 1 ปี - การสูญเสียมักเกิดจากเชื้อรา แมลง และสัตว์ฟันแทะ เปรียบเทียบลักษณะของผลผลิต, FAO 1998 พืชไร่ - มีน้ำเป็นองค์ประกอบ 70-95% - อัตราการหายใจ, คายความร้อนสูง - อ่อนนิ่ม บอบช้ำ - ขนาดใหญ่ 5 กรัม-5 กิโลกรัม - 2 - 3 วัน ถึง 1 เดือน - การสูญเสียมักเกิดจากการเสื่อม สภาพทางสรีระ การเน่าเสียโดย เชื้อรา แบคทีเรีย และการบอบช้ำ พืชสวน

I. Post harvest losses in perishable crops 1. บาดแผล จากเก็บเกี่ยว ขนส่ง 2. ความเสื่อมสรีระ 2.1 ยังคงมีการ transpiration เพื่อคายความร้อน ถ้า % RH ภายนอกต่ำกว่าภายในผลผลิตก็จะคายน้ำมาก ใบ ผลมักเหี่ยว

2.2 ยังคงมีการ respiration เพื่อใช้แป้งและน้ำตาลเป็นแหล่งพลังงาน ถ้า temp. สูงจะหายใจมาก เสื่อมเร็ว 2.3 แก่ มีเส้นใยเพิ่ม เช่น หน่อไม้ฝรั่ง เก็บตั้งทิ้งไว้ fiber จะเพิ่ม 2.4 ผลสุก มีการสร้าง ethylene เร่งให้ผลสุก

chilling injury heating injury 2.5 สิ้นอายุขัย สูญเสีย chlorophyll (ทำให้เหลือง) 2.6 เกิดจากอุณหภูมิสูง หรือต่ำเกินไป chilling injury ปกติพืชเมืองร้อน ทนได้ 10-12 C พืชเมืองหนาว ทนได้ 0 - 2 C heating injury

ตู้เย็น 415

ตู้เย็น 415

normal Freeze

3. โรค รา (พบในผัก ผลไม้) แบคทีเรีย (พบในผัก)

pre-harvest infection (latent infection) สำหรับโรคนั้นเราสามารถจัดกลุ่มโดยดู จากช่วงระยะเวลาในการเข้าทำลาย (infection period) ได้เป็น 2 กลุ่ม pre-harvest infection (latent infection) during and post-harvest infection

Colletotrichum gloeosporioides 1. pre-harvest infection (latent infection) : เชื้อเข้าทำลายก่อนเก็บเกี่ยว แต่ไม่แสดงอาการแสดงอาการเมื่อผลสุก ตัวอย่าง โรค anthracnose ของมะม่วง มะละกอ ฝรั่ง Colletotrichum gloeosporioides

2. during and post harvest infection ตัวอย่าง โรค soft rot ของผัก Erwinia carotovora subsp. carotovora โรค blue mold rot ของสาลี่ Penicillium italicum

Control ก่อนเก็บเกี่ยว หลังเก็บเกี่ยว 2.1 โดยวิธีทางกายภาพ 2.2 โดยใช้สารเคมี 2.3 โดยการควบคุมบรรยากาศ

1. ก่อนเก็บเกี่ยว เก็บส่วนที่เป็นโรคทำลาย เพื่อลดปริมาณ เชื้อในแปลง/สวน ห่อผล พ่นยา เพื่อกำจัดเชื้อ

2. หลังเก็บเกี่ยว 2.1 โดยวิธีทางกายภาพ 2.2 โดยการใช้สารเคมี 2.3 โดยการควบคุมบรรยากาศ

2. หลังเก็บเกี่ยว 2.1 โดยวิธีทางกายภาพ - เก็บรักษาในสภาพอุณหภูมิต่ำ (เพื่อลดการหายใจและลดการคายน้ำ - แช่ในน้ำร้อน ฆ่าเชื้อและไข่แมลง (hot water treatment) แล้วเก็บในอุณหภูมิต่ำ - อบในห้องไอน้ำร้อน (vapour heat treatment) เพื่อฆ่าเชื้อและไข่แมลง : มะม่วงส่งญี่ปุ่น)

2.1 โดยวิธีทางกายภาพ (ต่อ) - เคลือบผลด้วยไขผึ้งบาง (Waxing) : ediblewax ลดการคายน้ำและช่วยลดการหายใจเล็กน้อย

2.1 โดยวิธีทางกายภาพ (ต่อ) - ฉายรังสี radiation จากแหล่งกัมมันตรังสี คือ cobalt 60 รังสีคือ gamma ray (ฆ่าเชื้อและไข่แมลง)

2.2 โดยใช้สารเคมี - รมด้วยควัน SO2 ใน ลำใย - รมด้วยควัน Acetic â เช่นองุ่น - ชุบสารเคมี

2.3 โดยการควบคุมบรรยากาศ (Controlled atmosphere; CA หรือ modified atmosphere; MA) หลักการ คือ ลด O2 และเพิ่ม CO2 - O2 ปริมาณ ? - N2 ปริมาณ ? - CO2 ปริมาณ ? ในบรรยากาศมี

Asparagus ที่ประสบผลสำเร็จในไทย เดิมเก็บที่ 12 c เก็บได้ 7 วัน เมื่อเก็บที่ O2 10%, CO2 10% 2 สัปดาห์

Modified atmosphere