Plant disease in dairy life
วัตถุประสงค์ รู้จักชนิดของผลผลิตทางการเกษตร รู้สาเหตุของความเสียหายที่เกิดกับผลผลิตและการป้องกัน รู้จักโรคของผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว รู้การป้องกันพอสังเขป
หนังสืออ่านประกอบ 1. จริงแท้ ศิริพานิช. 2542. สรีรวิทยาและเทคโนโลยี หลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้. กรุงเทพฯ :สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2. Neerguard, P. 1970. Seed Pathology. New York :APS Press.
นอกเหนือจากความผิดปกติ หรือโรคพืชที่เราพบในแปลงแล้ว บางคนอาจเคยเห็นโรคพืชในแปลง บางคนไม่เคยเห็น แต่เมื่อเก็บเกี่ยวมาแล้ว นำมาวางขาย เราอาจพบความผิดปกติหรือโรคบ้าง
เคยเห็นอย่างนี้บ้างหรือไม่..... ?
ความเสียหายของผลผลิตหลังเก็บเกี่ยว ทั้งหมดนี้เราเรียกว่า ความเสียหายของผลผลิตหลังเก็บเกี่ยว post harvest losses of agricultural product หลัง เก็บเกี่ยว เสียหาย ผลผลิต
ผลผลิตทางการเกษตรแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ perishable crop (ผลผลิตทางพืชสวน) cereal crop (ผลผลิตทางพืชไร่)
เปรียบเทียบลักษณะของผลผลิต, FAO 1998 - มีน้ำเป็นองค์ประกอบ 10-20% - อัตราการหายใจ, คายความร้อนต่ำ - ค่อนข้างแข็งแรง ทนทาน - ขนาดเล็ก 1 กรัม - เก็บได้นานกว่า 1 ปี - การสูญเสียมักเกิดจากเชื้อรา แมลง และสัตว์ฟันแทะ เปรียบเทียบลักษณะของผลผลิต, FAO 1998 พืชไร่ - มีน้ำเป็นองค์ประกอบ 70-95% - อัตราการหายใจ, คายความร้อนสูง - อ่อนนิ่ม บอบช้ำ - ขนาดใหญ่ 5 กรัม-5 กิโลกรัม - 2 - 3 วัน ถึง 1 เดือน - การสูญเสียมักเกิดจากการเสื่อม สภาพทางสรีระ การเน่าเสียโดย เชื้อรา แบคทีเรีย และการบอบช้ำ พืชสวน
I. Post harvest losses in perishable crops 1. บาดแผล จากเก็บเกี่ยว ขนส่ง 2. ความเสื่อมสรีระ 2.1 ยังคงมีการ transpiration เพื่อคายความร้อน ถ้า % RH ภายนอกต่ำกว่าภายในผลผลิตก็จะคายน้ำมาก ใบ ผลมักเหี่ยว
2.2 ยังคงมีการ respiration เพื่อใช้แป้งและน้ำตาลเป็นแหล่งพลังงาน ถ้า temp. สูงจะหายใจมาก เสื่อมเร็ว 2.3 แก่ มีเส้นใยเพิ่ม เช่น หน่อไม้ฝรั่ง เก็บตั้งทิ้งไว้ fiber จะเพิ่ม 2.4 ผลสุก มีการสร้าง ethylene เร่งให้ผลสุก
chilling injury heating injury 2.5 สิ้นอายุขัย สูญเสีย chlorophyll (ทำให้เหลือง) 2.6 เกิดจากอุณหภูมิสูง หรือต่ำเกินไป chilling injury ปกติพืชเมืองร้อน ทนได้ 10-12 C พืชเมืองหนาว ทนได้ 0 - 2 C heating injury
ตู้เย็น 415
ตู้เย็น 415
normal Freeze
3. โรค รา (พบในผัก ผลไม้) แบคทีเรีย (พบในผัก)
pre-harvest infection (latent infection) สำหรับโรคนั้นเราสามารถจัดกลุ่มโดยดู จากช่วงระยะเวลาในการเข้าทำลาย (infection period) ได้เป็น 2 กลุ่ม pre-harvest infection (latent infection) during and post-harvest infection
Colletotrichum gloeosporioides 1. pre-harvest infection (latent infection) : เชื้อเข้าทำลายก่อนเก็บเกี่ยว แต่ไม่แสดงอาการแสดงอาการเมื่อผลสุก ตัวอย่าง โรค anthracnose ของมะม่วง มะละกอ ฝรั่ง Colletotrichum gloeosporioides
2. during and post harvest infection ตัวอย่าง โรค soft rot ของผัก Erwinia carotovora subsp. carotovora โรค blue mold rot ของสาลี่ Penicillium italicum
Control ก่อนเก็บเกี่ยว หลังเก็บเกี่ยว 2.1 โดยวิธีทางกายภาพ 2.2 โดยใช้สารเคมี 2.3 โดยการควบคุมบรรยากาศ
1. ก่อนเก็บเกี่ยว เก็บส่วนที่เป็นโรคทำลาย เพื่อลดปริมาณ เชื้อในแปลง/สวน ห่อผล พ่นยา เพื่อกำจัดเชื้อ
2. หลังเก็บเกี่ยว 2.1 โดยวิธีทางกายภาพ 2.2 โดยการใช้สารเคมี 2.3 โดยการควบคุมบรรยากาศ
2. หลังเก็บเกี่ยว 2.1 โดยวิธีทางกายภาพ - เก็บรักษาในสภาพอุณหภูมิต่ำ (เพื่อลดการหายใจและลดการคายน้ำ - แช่ในน้ำร้อน ฆ่าเชื้อและไข่แมลง (hot water treatment) แล้วเก็บในอุณหภูมิต่ำ - อบในห้องไอน้ำร้อน (vapour heat treatment) เพื่อฆ่าเชื้อและไข่แมลง : มะม่วงส่งญี่ปุ่น)
2.1 โดยวิธีทางกายภาพ (ต่อ) - เคลือบผลด้วยไขผึ้งบาง (Waxing) : ediblewax ลดการคายน้ำและช่วยลดการหายใจเล็กน้อย
2.1 โดยวิธีทางกายภาพ (ต่อ) - ฉายรังสี radiation จากแหล่งกัมมันตรังสี คือ cobalt 60 รังสีคือ gamma ray (ฆ่าเชื้อและไข่แมลง)
2.2 โดยใช้สารเคมี - รมด้วยควัน SO2 ใน ลำใย - รมด้วยควัน Acetic â เช่นองุ่น - ชุบสารเคมี
2.3 โดยการควบคุมบรรยากาศ (Controlled atmosphere; CA หรือ modified atmosphere; MA) หลักการ คือ ลด O2 และเพิ่ม CO2 - O2 ปริมาณ ? - N2 ปริมาณ ? - CO2 ปริมาณ ? ในบรรยากาศมี
Asparagus ที่ประสบผลสำเร็จในไทย เดิมเก็บที่ 12 c เก็บได้ 7 วัน เมื่อเก็บที่ O2 10%, CO2 10% 2 สัปดาห์
Modified atmosphere