II. Post harvest loss of cereal crop

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เพราะความเป็นห่วง.
Advertisements

ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
RICE RAGGED STUNT VIRUS (โรคจู๋ของข้าว)
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
โรคจากอาหารที่มีสารพิษจากรา
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
การพักตัวของเมล็ด (Seed dormancy)
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ 1. ความงอก (germination) หรือความมีชีวิต (viability)
Groundnut, pearl millet, sorghum, pigeon pea, chickpea
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
คำถามทบทวนวิชา
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
Plant disease in dairy life
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
ยินดีต้อนรับ.
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
โรคสำคัญที่พบในการเลี้ยงไก่ฟ้า รศ. น. สพ
เทคโนโลยีการแปรรูปขั้นต้นของผักและผลไม้ โดย ผศ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
วิธีเพาะเมล็ดไผ่ (สามารถใช้กับไผ่ได้ทุกชนิด)
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
โรคอุจจาระร่วง.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
ข้าวกล้องงอก ข้าวกล้องหอมมะลิงอก ข้าวกล้องข้าวเหนียวดำ
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา
863封面 ทองคำ เขียว.
จัดทำโดย นางสาวนูรีฮา อามะ
เชื้อรา แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส สาหร่าย
การเจริญเติบโตของพืช
DNA marker Selection (transformation, breeding) Identification
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
โครงการพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบ กลุ่มเกษตรกรรายย่อยบ้านห้วยเตย จังหวัดขอนแก่น ศวพ.ขอนแก่น.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

II. Post harvest loss of cereal crop

II. Post harvest loss of cereal crop ความสำคัญ : 90 % ของอาหารที่มนุษย์บริโภคมาจากธัญพืช : 90 % ของ food crops ที่ปลูกบนดิน ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด

สาเหตุของการสูญเสียธัญพืช(cereal crops) 1. วิธีการเก็บเกี่ยว ขัดสี และการเก็บรักษา 2. แมลง นก หนู 3. จุลินทรีย์

3. จุลินทรีย์ 3.1 Field fungi ที่เกิดและติดเชื้อในแปลง (fungi, bact., nema, virus) 3.2 Strorage fungi จุลินทรีย์ที่พบเมื่อเก็บนานๆ เวลาที่เก็บ ปริมาณเชื้อที่พบบนเมล็ด Field fungi Strorage fungi

3.1 Field fungi

1. Accompanying 2. Infested seed 3. Infected seed การที่เมล็ดมีเชื้อติดไปและทำให้เกิดโรคกับพืช เรียก “seed borne disease” รูปแบบของการติดหรือปนเปื้อนไปกับเมล็ดแบ่งได้ 3 รูปแบบ คือ 1. Accompanying 2. Infested seed 3. Infected seed

การติดไปในรูปแบบใดขึ้นอยู่กับ 1. ชนิดของเชื้อ ธรรมชาติของเชื้อ 2. อายุพืช โครงสร้างของผลและเมล็ด 3. สภาพแวดล้อม

ผลเสียของการมีเชื้อ field fungi ติดไปกับเมล็ดพันธุ์ 1. เมล็ดไม่งอก อัตราการงอกลดลง

2. ต้นกล้าเป็นโรคและแพร่กระจายไปยังต้นอื่นๆ 3. ต้นกล้าไม่แข็งแรงสมบูรณ์ ให้ผลผลิตน้อย เสียหายทางเศรษฐกิจ

4. ทำให้เมล็ดเสียรูปทรง ไม่น่ารับประทาน 5. เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ 6. ระยะเวลาการเก็บรักษาสั้นลง 7. ไม่สามารถส่งขายไปต่างประเทศ 8. อาจเกิดโทษกับผู้บริโภค 9. เมื่อนำไปขัดสี กะเทาะจะแตกหักง่าย

การพบโรคที่ติดไปกับเมล็ดพันธุ์ อดีต เชื้อรา: ในปี 1637 เกษตรกรพบว่าเมล็ดข้าวสาลีที่เมื่อนำไปแช่น้ำ เมล็ดลอยและมีผงสีดำกระจาย เมื่อนำไปปลูกเมล็ดจะไม่งอก โรคเขม่าดำ (smut)

แบคทีเรีย: common blight ของถั่ว สังเกตจากเมล็ด ที่เพาะแล้วไม่งอกเมื่อแกะดูพบว่า cotyledon เป็นแผลสีน้ำตาล ไส้เดือนฝอย: โรค ear cockle ในข้าวสาลี ไวรัส: โรคแรกที่พบ TMV

การควบคุมไม่ให้เกิด Field fungi 1. Physical treatment 1.1 Hot water treatment (แช่น้ำร้อน) 1.2 Radition (ฉายรังสี) 1.3 Ultrasonic treatment (คลื่นเสียง) 1.4 Solar heat treatment (แสงแดด)

2. Chemical treatment วิธีการ : คลุกหรือแช่เมล็ดในสารเคมี เช่น Thiram สารเคมีที่ใช้มีหลายชนิดขึ้นกับเชื้อที่เข้าทำลาย นิยมใช้กำจัดเชื้อราที่ติดมากับเมล็ด วิธีการ : คลุกหรือแช่เมล็ดในสารเคมี เช่น Thiram

3. Biological control Bacillus subtilis Trichoderma harzianum Chaetomium sp.

3.2 Storage fungi Aspergillus Penicilium Fusarium พบมากขึ้นเมื่อเก็บนาน สามารถสร้างสาร พิษที่เป็นอันตรายต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

ตัวอย่างสารพิษ Aflatoxin : Fumonisin : Aspergillus flavus Aspergillus perasiticus Penicillium varible Fumonisin : Fusarium moniliforme

.. . ทนกรด ทนความร้อนได้ถึง 260 C Aflatoxin : มีหลายอนุพันธุ์ B1, B2, G1, G2 : เมื่อเชื้อสร้างแล้ว ทำลายหรือกำจัดยาก .. . ทนกรด ทนความร้อนได้ถึง 260 C

: เป็นสารก่อมะเร็ง . . . aflatoxin สามารถรวมตัวกับ DNA, RNAและ albumin ทำให้เซลล์โตผิดปกติ กลายเป็นเนื้องอกและเป็นมะเร็งในที่สุด ส่วนใหญ่เกิดที่ตับ

: สัตว์ที่กินอาหารที่มีสารพิษนี้จะมีการสะสมสารพิษในตับ ไต หัวใจ เลือดและนม (B1 เปลี่ยนเป็น M1 ใน 2 วันหลังกิน)

Fumonisin : ทำให้สัตว์เกิดอาการแท้งลูก

การควบคุมไม่ให้เกิด storage fungi - ตากให้แห้ง ลดความชื้นในเมล็ด(13-14% MC; Moisture content) - เก็บในที่เหมาะสม ความชื้นสัมพัทธ์ 70%

http://evaluate.eng.psu.ac.th/evaluate/login.php