II. Post harvest loss of cereal crop
II. Post harvest loss of cereal crop ความสำคัญ : 90 % ของอาหารที่มนุษย์บริโภคมาจากธัญพืช : 90 % ของ food crops ที่ปลูกบนดิน ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด
สาเหตุของการสูญเสียธัญพืช(cereal crops) 1. วิธีการเก็บเกี่ยว ขัดสี และการเก็บรักษา 2. แมลง นก หนู 3. จุลินทรีย์
3. จุลินทรีย์ 3.1 Field fungi ที่เกิดและติดเชื้อในแปลง (fungi, bact., nema, virus) 3.2 Strorage fungi จุลินทรีย์ที่พบเมื่อเก็บนานๆ เวลาที่เก็บ ปริมาณเชื้อที่พบบนเมล็ด Field fungi Strorage fungi
3.1 Field fungi
1. Accompanying 2. Infested seed 3. Infected seed การที่เมล็ดมีเชื้อติดไปและทำให้เกิดโรคกับพืช เรียก “seed borne disease” รูปแบบของการติดหรือปนเปื้อนไปกับเมล็ดแบ่งได้ 3 รูปแบบ คือ 1. Accompanying 2. Infested seed 3. Infected seed
การติดไปในรูปแบบใดขึ้นอยู่กับ 1. ชนิดของเชื้อ ธรรมชาติของเชื้อ 2. อายุพืช โครงสร้างของผลและเมล็ด 3. สภาพแวดล้อม
ผลเสียของการมีเชื้อ field fungi ติดไปกับเมล็ดพันธุ์ 1. เมล็ดไม่งอก อัตราการงอกลดลง
2. ต้นกล้าเป็นโรคและแพร่กระจายไปยังต้นอื่นๆ 3. ต้นกล้าไม่แข็งแรงสมบูรณ์ ให้ผลผลิตน้อย เสียหายทางเศรษฐกิจ
4. ทำให้เมล็ดเสียรูปทรง ไม่น่ารับประทาน 5. เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ 6. ระยะเวลาการเก็บรักษาสั้นลง 7. ไม่สามารถส่งขายไปต่างประเทศ 8. อาจเกิดโทษกับผู้บริโภค 9. เมื่อนำไปขัดสี กะเทาะจะแตกหักง่าย
การพบโรคที่ติดไปกับเมล็ดพันธุ์ อดีต เชื้อรา: ในปี 1637 เกษตรกรพบว่าเมล็ดข้าวสาลีที่เมื่อนำไปแช่น้ำ เมล็ดลอยและมีผงสีดำกระจาย เมื่อนำไปปลูกเมล็ดจะไม่งอก โรคเขม่าดำ (smut)
แบคทีเรีย: common blight ของถั่ว สังเกตจากเมล็ด ที่เพาะแล้วไม่งอกเมื่อแกะดูพบว่า cotyledon เป็นแผลสีน้ำตาล ไส้เดือนฝอย: โรค ear cockle ในข้าวสาลี ไวรัส: โรคแรกที่พบ TMV
การควบคุมไม่ให้เกิด Field fungi 1. Physical treatment 1.1 Hot water treatment (แช่น้ำร้อน) 1.2 Radition (ฉายรังสี) 1.3 Ultrasonic treatment (คลื่นเสียง) 1.4 Solar heat treatment (แสงแดด)
2. Chemical treatment วิธีการ : คลุกหรือแช่เมล็ดในสารเคมี เช่น Thiram สารเคมีที่ใช้มีหลายชนิดขึ้นกับเชื้อที่เข้าทำลาย นิยมใช้กำจัดเชื้อราที่ติดมากับเมล็ด วิธีการ : คลุกหรือแช่เมล็ดในสารเคมี เช่น Thiram
3. Biological control Bacillus subtilis Trichoderma harzianum Chaetomium sp.
3.2 Storage fungi Aspergillus Penicilium Fusarium พบมากขึ้นเมื่อเก็บนาน สามารถสร้างสาร พิษที่เป็นอันตรายต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ตัวอย่างสารพิษ Aflatoxin : Fumonisin : Aspergillus flavus Aspergillus perasiticus Penicillium varible Fumonisin : Fusarium moniliforme
.. . ทนกรด ทนความร้อนได้ถึง 260 C Aflatoxin : มีหลายอนุพันธุ์ B1, B2, G1, G2 : เมื่อเชื้อสร้างแล้ว ทำลายหรือกำจัดยาก .. . ทนกรด ทนความร้อนได้ถึง 260 C
: เป็นสารก่อมะเร็ง . . . aflatoxin สามารถรวมตัวกับ DNA, RNAและ albumin ทำให้เซลล์โตผิดปกติ กลายเป็นเนื้องอกและเป็นมะเร็งในที่สุด ส่วนใหญ่เกิดที่ตับ
: สัตว์ที่กินอาหารที่มีสารพิษนี้จะมีการสะสมสารพิษในตับ ไต หัวใจ เลือดและนม (B1 เปลี่ยนเป็น M1 ใน 2 วันหลังกิน)
Fumonisin : ทำให้สัตว์เกิดอาการแท้งลูก
การควบคุมไม่ให้เกิด storage fungi - ตากให้แห้ง ลดความชื้นในเมล็ด(13-14% MC; Moisture content) - เก็บในที่เหมาะสม ความชื้นสัมพัทธ์ 70%
http://evaluate.eng.psu.ac.th/evaluate/login.php