หนังสือ หลักกสิกรรมหน้า 43-60 เรื่องดินและพืช วัคถุประสงค์ ให้เรียนรู้ ลักษณะ คุณสมบัติ ความสำคัญ และข้อจำกัดของดินต่อการเพาะปลูกพืช+การอนุรักษ์ดินเพื่อให้สามารถปลูกพืชได้อย่างยั่งยืน ผู้สอน ผศ.ดร.วิจิตต์ วรรณชิต ภาควิชาพืชศาสตร์ ห้องทำงาน 134 หนังสือ หลักกสิกรรมหน้า 43-60
การศึกษาศาสตร์ทางดิน ในทัศนะของ Buckman และ Brady Pedological approach การเกิดของดิน การจำแนกดิน การตรวจรูปร่างลักษณะของดินเรียกพวกนี้ว่า Pesologist Edaphological approach ศึกษาดินที่มุ่งไปในทางที่เป็นประโยชน์ต่อการเพาะปลูก
Pedological approach soil genesis and classification soil survey and morphology micropedology ใช้กล้อง petrographic microscope
Edaphological approach 510-111 Edaphological approach มีสาขาที่เกี่ยวข้องดังนี้: soil fertility soil chemistry soil physics soil microbiology soil biochemistry soil management and conservation soil mineralogy แยกมาจาก soil chemistry และ soil genesis forest soils แยกมาจาก soil fertility และsoil classification ดินสำหรับการเพาะปลูกพืช
เนื้อหาเรื่องของดินสำหรับการเพาะปลูกพืช 1. ความสำคัญของดินสำหรับการเพาะปลูก 2. กำเนิด องค์ประกอบ และลักษณะดิน 3. คุณสมบัติของดินสำหรับการเพาะปลูกพืช 4. ความอุดมสมบูรณ์ของดินสำหรับการเพาะปลูกพืช 5. ดินที่มีปัญหาต่อการเกษตรและการปรับปรุง
ความสำคัญของดินสำหรับการเพาะปลูกพืช 1. ดินเป็นที่ยึดเหนี่ยวของรากพืช 2. ดินให้น้ำ อากาศ และ ธาตุอาหารแก่พืช 3. ดินเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่เกื้อกูลพืช 4. ดินช่วยปรับระดับอุณหภูมิให้รากพืช
กำเนิดของดิน(soil genesis) 510-111 กำเนิดของดิน(soil genesis) หินและแร่ สลายตัว วัตถุต้นกำเนิดดิน พืชและสัตว์ ตายสลายตัว ดิน ดินสำหรับการเพาะปลูกพืช
ลักษณะและองค์ประกอบของดิน 510-111 ลักษณะและองค์ประกอบของดิน น้ำในดิน เม็ดดิน อากาศในดิน ช่องว่างในดิน อินทรีย์วัตถุ ดินสำหรับการเพาะปลูกพืช
คุณสมบัติของดินสำหรับการเพาะปลูกพืช 1. คุณสมบัติทางกายภาพของดิน การดูดยึด และระบายน้ำ และอากาศ 2. คุณสมบัติทางเคมีของดิน ความเป็นกรด-ด่าง 3. คุณสมบัติทางชีวภาพของดิน กิจกรรมจุลินทรีย์ในดิน
องค์ประกอบของดินที่ดี
หน้าที่ทางกายภาพของดิน เก็บกักและระบายน้ำ และอากาศในดิน เนื้อดิน โครงสร้างดิน ความแน่น สีดิน
หน้าที่ทางเคมีของดิน ธาตุอาหารในดิน pHของดิน ปริมาณและความ เป็นประโยชน์ของ
หน้าที่ทางชีวะภาพของดิน สิ่งมีชีวิตในดิน ความอุดม สมบูรณ์ของดิน
คุณสมบัติทางกายภาพ เคมี ชีวภาพของดิน เก็บกักและระบายน้ำ และอากาศในดิน เนื้อดิน โครงสร้างดิน ความแน่น สีดิน ธาตุอาหารในดิน pHของดิน ปริมาณและความ เป็นประโยชน์ของ สิ่งมีชีวิตในดิน ความอุดม สมบูรณ์ของดิน (หนังสือหลักการกสิกรรมหน้า 48-54)
คุณสมบัติทางฟิสิกส์(Physical Property) 1.1 เนื้อดิน (Texture) อนุภาคทราย @ 0.25-2.00 มม. อนุภาคซิลท์ @ 0.002-0.05 มม. อนุภาคดินเหนียว @ < 0.002 มม. การจำแนกเนื้อดิน (textural class) ดินเนื้อหยาบ (coarse textural class) ดินเนื้อหยาบปานกลาง (medium coarse textural class) ดินเนื้อเอียด (fine textural class)
1.2 โครงสร้างของดิน (Soil Structure) 510-111 1.2 โครงสร้างของดิน (Soil Structure) มี 4 แบบคือ: เม็ดกลมทึบ(granular) แผ่นบาง(platy) ก้อนสี่เหลี่ยม(blockyหรือ subangular blocky) แท่งหัวตัดหรือหัวมน(prismatic หรือ columnar) ดินไม่มีโครงสร้าง(structurless): พบได้ 2 แบบ ดินรวมแล้วยังมีสภาพเป็นเม็ดเดี่ยวๆ(single grain) ดินรวมแล้วยังมีสภาพเป็นมวลแน่นทึบ(massive) การรวมกันของอนุภาคดินต่างๆ: เกิดจาก น้ำ แคทไออน (cation ) สารคอลลอยด์ฟ(Colloids)ต่างๆในดิน ดินสำหรับการเพาะปลูกพืช
(หนังสือหลักการกสิกรรมหน้า 49-50) โครงสร้างของดิน (หนังสือหลักการกสิกรรมหน้า 49-50)
1.3 ความหนาแน่นและความพรุนของดิน 1.3 ความหนาแน่นและความพรุนของดิน ความหนาแน่นรวมของดิน (bulk density of soil) ความหนาแน่นรวม = น้ำหนักของดินอบแห้งที่ 105 องศาเซลเซียส ความหนาแน่นของอนุภาคดิน(particle density) ความพรุนของดิน(soil porosity) ปริมาตรของดิน 1.4 ความสามารถในการระบายน้ำและการ ระบายอากาศของดิน
คุณสมบัติทางเคมี (Chemical Property) ปฏิกิริยาดิน (Soil reaction) H+. OH- ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (Cation exchang capacity : CEC) [H+ ] เป็นความเข้มข้นของ H+ ในสารละลายดินมีหน่วยเป็น mole/ l
สิ่งมีชีวิตในดิน ได้แก่สิ่งมีชีวิตเล็กๆต่างๆในดิน เช่น แบคทีเรีย เห็ดรา แอคติโนไมซีตีส โปรโตซัว สาหร่าย ไส้เดือนฝอย แบคทีเรีย พวกheterotrophs autotrophs อาทิเช่น nitrozomonas nitrobacter ต้องการออกซิเจน(aerobes), ไม่ต้องการออกซิเจน(anaerobes) เห็ดรา(fungi) ช่วยย่อยสลายลิกนินในพืช,symbiosisที่สำคัญคือไมโคไรซา(mycorrhiza) ectotrophic ในพืชพวกป่าไม้ endotrophicในพืชไร่และผักต่างๆ เช่น vesicular-arbuscular mycorrhiza
การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน 1. สังเกตลักษณะพืช(symptom of plant) 2. วิเคราะห์พืช(plant analysis) 3. ทดสอบทางชีวภาพ(biological test) 4. วิเคราะห์ดิน(soil analysis)
ดินที่มีปัญหาต่อการเกษตรในภาคใต้ 510-111 ดินที่มีปัญหาต่อการเกษตรในภาคใต้ 1. ดินเค็มชายทะเล 2. ดินทรายจัด 3. ดินเปรี้ยวจัด 4. ดินพรุหรือดินอินทรีย์ 5. ดินเหมืองแร่ร้าง (หนังสือหลักการกสิกรรมหน้า 57-58) ดินสำหรับการเพาะปลูกพืช
ลักษณะพื้นที่ดินที่เหมาะสมปลูกสำหรับปาล์มน้ำมัน
ลักษณะ คุณสมบัติ และปัญหาของดินต่อการเพาะปลูกพืช 510-111 ลักษณะ คุณสมบัติ และปัญหาของดินต่อการเพาะปลูกพืช ลักษณะดิน คุณสมบัติ ปัญหาดิน ความสามารถในการ เก็บกักและระบายน้ำ และอากาศของดิน เนื้อดิน โครงสร้างดิน ความแน่นดิน ดินเหนียวจัด ดินทรายจัด ดินเสียโครงสร้าง ดินแน่นทึบ มีปริมาณและความ เป็นประโยชน์ของ ธาตุอาหารในดิน pH ดิน ความอุดม สมบูรณ์ของดิน ดินกรดจัด ดินด่างจัด ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ชีวภาพของดิน ความอุดม สมบูรณ์ของดิน มีจุลินทรีย์ที่มี ประโยชน์ในดิน ดินไม่มีชีวิต ดินขาดความอุดม สมบูรณ์ ดินสำหรับการเพาะปลูกพืช
การเรียงตัวของชั้นดิน(soil profile) BEDROCK C -parent material B -subsoil A- surface soil