ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
Advertisements

การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
ดิน(Soil).
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การลดปัญหาเนื้อแก้วยางไหล ในการผลิตมังคุดในภาคใต้
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
ธาตุอาหารพืช Macronutrients : N, P, K, Ca, Mg, S
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
1. การจัดแยกประเภทของเสียในห้องปฏิบัติการ 2
การดูแลสวน (Garden Maintenance)
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
คำถามทบทวนวิชา
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
CITRUS NUTRITION SOLUTIONS ปัญหาผลร่วง : 1. ระหว่างระยะเติบโตของผล  การให้ปุ๋ยที่ถูก, การให้ปุ๋ยทางใบจะช่วยแก้ความไม่สมดุลได้เร็วขึ้น  ปรับปรุงความสมบูรณ์ของต้นจะช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกัน.
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
Phosphorus and Phosphate
แนวทางการบริหารจัดการผลไม้ระยะยาว
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตคะน้าแบบไว้ตอ
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
หลักสูตร การผลิตพืชตามระบบ การรับรองมาตรฐาน GAP
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
เทคนิคและวิธีการปลูกผัก
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
หมากเขียว MacAthur Palm
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
การเจริญเติบโตของพืช
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์
การเจริญเติบโตของหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่ปลูกในวัสดุปลูกที่มีในท้องถิ่น
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต หัวข้อการสอนวิชาหลักการกสิกรรม(510-111) “ปุ๋ยและการให้ปุ๋ย” ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต

ความหมาย ปุ๋ย (Fertilizer) หมายถึงวัตถุหรือสารที่ให้ธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปตัสเซียม และธาตุอาหารอื่นๆแก่พืช เพื่อใช้ใน การเจริญเติบโตให้เป็นไปตามปกติ ธาตุอาหารที่พืชต้องการในประมาณมาก(Macronutrients) ได้แก่ N P K Ca Mg S ธาตุอาหารพืชต้อการในปริมาณน้อย(Micronutrients) ได้แก่ Fe Zn Mn Cu B Mo Cl Si Na Co

ปริมาณธาตุอาหารที่ข้าวสาลีดึงออกจากดินใน1ฤดูกาลปลูก(ก.ก./เฮกแตร์)

เมื่อปลูกพืชลงไปในดินแล้วจะให้พืชเจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้ดีจะต้อง ให้น้ำ ให้ปุ๋ย ป้องกันกำจัดศัตรูพืช ดูแลผลผลิตก่อนและหลังการเก็บเกี่ยวให้ดี

ประเภทของปุ๋ย 1. แยกตามสารประกอบที่ใช้เป็นวัสดุปุ๋ย 1.1 ปุ๋ยอินทรีย์ (organic fertilizer) 1.2 ปุ๋ยอนินทรีย์ (inorganic fertilizer)

2. แยกตามแหล่งกำเนิดหรือที่มาของปุ๋ย 2.1 ปุ๋ยธรรมชาติ (natural fertilizer) 2.2 ปุ๋ยสังเคราะห์ (synthetic fertilizer)

3.แยกตามธาตุอาหารปุ๋ย 3.1 ปุ๋ยไนโตรเจน (nitrogen fertilizer) 3.2 ปุ๋ยฟอสฟอรัส (phosphorus fertilizer) 3.3 ปุ๋ยโปตัสเซียม (potasium fertilizer)

4. แยกตามเกรดปุ๋ย(Fertilizer grade) 4.1 ปุ๋ยเกรดต่ำ(low grade fertilizer) ปริมาณ N, P2O5 , K2O แต่ละอย่างหรือรวมกันหมดแล้วต่ำกว่า 15 % 4.2 ปุ๋ยเกรดปานกลาง(medium grade fertilezer) ปริมาณ N, P2O5 , K2O แต่ละอย่างหรือ รวมกันหมดแล้ว อยู่ระหว่าง 15 - 25% 4.3 ปุ๋ยเกรดสูง(high grade fertilizer) ปริมาณ N, P2O5 , K2O แต่ละอย่าง หรือรวมกันหมดแล้ว อยู่ระหว่าง 26 - 30% 4.4 ปุ๋ยเกรดเข้มข้น(concentrated fertilizer) ปริมาณ N, P2O5 , K2O แต่ละอย่าง หรือรวมกันหมดแล้ว มากกว่า 30% เกรดปู๋ย: ตัวเลขสามจำนวนเรียงกันซึ่งบอกปริมาณธาตุอาหาร(N, P2O5 , K2O)ในปุ๋ย และรับ รองว่าจะมีไม่น้อยกว่านี้ มักใช้คำว่า สูตรปุ๋ย(Fertilizer analysis)ในความหมายเดียวกับเกรดปุ๋ย

หลักการให้ปุ๋ยแก่พืช 1. พิจารณาลักษณะดิน เช่นเนื้อดิน 2. พิจารณาลักษณะการปลูกพืช 3. พิจารณาระยะการเจริญเติบโตของพืช 4. พิจารณาปุ๋ยและการให้น้ำทำละลาย ปุ๋ย ปุ๋ยละลายช้า(Slow released fertilizer) มีหลายกรณีที่อาจให้ปุ๋ยทางใบเสริมการใส่ปุ๋ยให้ทางดิน:ปุ๋ยเกล็ด,ปุ๋ยน้ำหรือปุ๋ยเหลว การให้ปุ๋ยไปกับน้ำชลประทาน เรียกว่า “Fertigation”

วิธีการให้ปุ๋ยแก่พืช Osmocote การหว่านปุ๋ยในนาข้าว (broadcast application) การโรยปุ๋ยตามแถวข้าวโพด (band application)

การหยอดปุ๋ยในหลุมระหว่างต้นยางพารา (hole application) การโรยปุ๋ยรอบทรงพุ่มเงาะ (ring application) การฉีดพ่นปุ๋ยใบให้ไม้ประดับ (foliar application)