การปรับปรุง และพัฒนางาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
7ส.
Advertisements

การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
Service Excellence : Knowledge & Skill.
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
เทคนิคการประชาสัมพันธ์
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
Visual Control งานโภชนาการ รพ.สงขลานครินทร์.
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
ปรู๊ฟทันใจ โครงการ แผนกลูกค้าสัมพันธ์
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ได้กล่าวว่า ในระดับบุคคลข่าวสารที่ ได้จากระบบ ช่วยทั้งในแง่ ส่วนตัวและวิชาชีพ ในระดับองค์การ การจะมีส่วนช่วยองค์การให้มี ประสิทธิภาพจะมีผลกระทบต่อกล ยุทธ์และความสำเร็จขององค์การ.
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
โครงสร้างเดิม.
สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
บทที่ 15 Start การซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Next.
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
e-Office การบริหารสำนักงานสมัยใหม่
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
5ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
ข้อพิจารณาเกี่ยวกับ คุณภาพการเรียนอิเล็กทรอนิกส์
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดการฐานข้อมูล.
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
-เครื่องมือสำหรับการรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ - ไฟรว์วอลล์
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
บทที่ 8 การวิจัยเชิงพรรณนา : การสำรวจ
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
บทที่ 7 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : การวิจัยเชิงคุณภาพ
การผลิตรายการโทรทัศน์
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
บทที่ 8 บุคคล.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
การนำเสนอสารด้วยวาจา
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปรับปรุง และพัฒนางาน ขั้นตอน Kaizen ระดับกลุ่ม/ทีม การคัดเลือกและกำหนดหัวข้อปัญหา 1. Select&Define Measure Analyze Improve Install Control การกำหนดตัววัด และเก็บข้อมูล 2. 3. การวิเคราะห์หาสาเหตุที่แท้จริง 4. การปรับปรุง และพัฒนางาน 5. การผลักดันและการติดตั้งสิ่งที่พัฒนา 6. การควบคุมและติดตามผล

องค์ประกอบของคุณภาพในงานบริการ 1. ความเชื่อถือและวางใจได้(Reliability) 2. ความรวดเร็ว(Responsiveness) 3. การรับประกัน(Assurance) 4. การเอาใจใส่ลูกค้าเป็นรายบุคคล(Empathy) 5. สิ่งที่สัมผัสได้(Tangibles) 1. ความถูกต้องของการให้บริการ (Accuracy) 2. ความพร้อมในการตอบสนอง(Responsiveness) 3. การเอาใจใส่ (Empathy) 5. สิ่งอำนวยความสะดวก (Tangibles)

แนวทางการปรับปรุงคุณภาพบริการในแต่ละปัจจัยคุณภาพ

แนวทาง / เทคนิคในการปรับปรุงคุณภาพ ปัจจัย เทคนิค/วิธีการที่ใช้ 1. ความถูกต้องของการปฏิบัติงาน 1.1 ผู้ให้บริการสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับการบริการได้อย่างถูกต้อง มาตรฐานการตอบคำถามที่ถูกถามบ่อย (FAQ) ในรูปแบบบริการข้อมูลออนไลน์, โทรศัพท์ และต่อหน้า เทคโนโลยีการตรวจสอบสถานะของงาน 1.2 ผู้ให้บริการบริการด้วยความถูกต้องแม่นยำ เทคนิคการวิเคราะห์ลักษณะข้อบกพร่องและผลกระทบ (FMEA) เทคนิคการป้องกันความผิดพลาด (Mistake Proofing) 2. ความพร้อมในการตอบสนองของผู้รับบริการ 2.1 ความสะดวกและรวดเร็วในการปฏิบัติงาน Lean techniques: Value Stream Mapping, ECRS, Standardization, Delegation, Cellular Layout การจัดการอุปสงค์และอุปทาน One-Stop Service

แนวทาง / เทคนิคในการปรับปรุงคุณภาพ (ต่อ) ปัจจัย เทคนิค/วิธีการที่ใช้ 2. ความพร้อมในการตอบสนองของผู้รับบริการ (ต่อ) 2.2 ความสามารถในการรับคำร้อง ความต้องการ และแก้ปัญหา มาตรฐานการรับคำร้องและตอบกลับยังผู้รับบริการ 2.3 ผู้ให้บริการมีความพร้อมอยู่เสมอในงานบริการ Cross-training 3. ความเอาใจใส่ของผู้ปฏิบัติงาน 3.1 ผู้ให้บริการปฏิบัติต่อลูกค้าด้วยความเอาใจใส่ จัดทำและอบรมมาตรฐานวิธีการให้บริการ 3.2 ผู้ให้บริการมีความสุภาพ อัธยาศัยดี และให้เกียรติลูกค้า 3.3 ผู้ให้บริการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แนวทาง / เทคนิคในการปรับปรุงคุณภาพ (ต่อ) ปัจจัย เทคนิค/วิธีการที่จะใช้ 4. สิ่งอำนวยความสะดวก 4.1 วันและเวลาทำการมีความเหมาะสม การสอบถามความต้องการของผู้รับบริการในเรื่องเวลาเปิด-ปิด การวิเคราะห์จำนวนผู้รับบริการในวัน-เวลาต่างๆ มีป้ายแสดงเวลาเปิด-ปิดที่แน่นอน 4.2 ข้อมูลข่าวสารมีความชัดเจน เข้าถึงได้โดยง่าย ออกแบบสื่อให้มีรูปแบบน่าสนใจ เนื้อหากระชับ เข้าใจง่าย สร้างความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับตัวแทนผู้รับบริการ เพื่อเป็นสื่อในการเผยแพร่ข่าว ใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ประกอบเพื่อเพิ่มความน่าสนใจและเข้าถึงได้โดยง่าย เพิ่มความเร็วในการดาวน์โหลด และเพิ่มความปลอดภัยในบริการทางอินเตอร์เน็ต 4.3 การจัดวางอุปกรณ์พร้อมเสมอ การศึกษาปริมาณการใช้และกำหนดผู้ดูแล

แนวทาง / เทคนิคในการปรับปรุงคุณภาพ (ต่อ) ปัจจัย เทคนิค/วิธีการที่ใช้ 4. สิ่งอำนวยความสะดวก (ต่อ) 4.4 การจัดระบบคิวมีความสะดวก การใช้บัตรคิวอัติโนมัติ การแยกประเภทคิวตามจำนวนรายการที่ทำ One-Stop Service 4.5 บรรยากาศและความสะอาด เรียบร้อย 5ส 4.6 อุปกรณ์ เครื่องมือมีความทันสมัยน่าใช้บริการ ไม่เสีย การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน 4.7 แบบฟอร์มชัดเจนเข้าใจง่าย สำรวจความคิดเห็นและข้อร้องเรียนจากผู้รับบริการ เพื่อวิเคราะห์ความยากง่ายของการใช้แบบฟอร์ม 4.8 บุคลิกภาพและการแต่งกายของเจ้าหน้าที่ จัดทำมาตรฐานระเบียบการแต่งกายและ อบรมบุคลิกภาพของผู้ให้บริการ 4.9 แผนผังแสดงขั้นตอนการให้บริการ คัดเลือกงานที่มีผู้ใช้บริการมาก จัดทำและตรวจทานแผนผังก่อนติดประกาศ

ภาพก่อนปรับปรุง ภาพหลังปรับปรุง

ออกแบบสื่อให้น่าสนใจ แสดงภาพตัวอย่างการปรับปรุงการจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์