พยาธิตัวกลมในเนื้อเยื่อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ แมลงที่สำคัญทางการแพทย์
Phylum Nematoda สมมาตรแบบ Bilateral symmetry
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
Group Acraniata (Protochordata)
Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
โรคจากอาหารที่มีสารพิษจากรา
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
WHOเตือนไข้หวัด2009จ่อระบาดทั่วโลก
โรคติดเชื้ออะมีบา บิดมีตัว พาหะ - แมลงวัน
Trypanosoma.
พยาธิใบไม้ตับ (Liver Flukes).
Trichomonas vaginalis
หนอนพยาธิ (Helminth).
พยาธิใบไม้ปอด (Lung Fluke).
พยาธิตัวกลมในระบบหมุนเวียนเลือด น้ำเหลืองและเนื้อเยื่อ
พยาธิใบไม้ลำไส้ (Intestinal Flukes).
Haemoflagellate.
Family Echinostomatidae
Giardia duodenalis (lamblia)
หนอนพยาธิ (Helminth).
พยาธิใบไม้ปอด (Lung Fluke).
I. โรคผิวหนัง 1.1. เกิดจากปาราสิตภายนอก เช่น
โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
Tuberculosis วัณโรค.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โรคสำคัญที่พบในการเลี้ยงไก่ฟ้า รศ. น. สพ
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
ภาวะไตวาย.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
นางสาวจิตรลดาพร แพงดี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวาริชศาสตร์
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
ดื่มน้ำเมื่อท้องว่าง ดีอย่างไร?
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคเบาหวาน ภ.
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
การนวดไทยแบบราชสำนัก
Tonsillits Pharynngitis
Nipah virus.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พยาธิตัวกลมในเนื้อเยื่อ

- ทำให้เกิดโรค Trichinosis Trichinella spiralis - ทำให้เกิดโรค Trichinosis การแพร่กระจาย(Distribution) - พบทั่วโลก - มีรายงานในแถบยุโรป รัสเซีย อเมริกาเหนือ - รายงาน การระบาดในเมืองไทย พบใน เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำพูน แพร่ น่าน

- มีขนาดเล็ก คล้ายเส้นด้าย รูปร่าง (Morphology) - มีขนาดเล็ก คล้ายเส้นด้าย - หลอดอาหารเป็นแบบ Stichosomal type - ขนาด ตัวผู้ 1 – 1.3 X 0.03 mm ตัวเมีย 2.4 – 3.4 X 0.06 mm

Male Trichinella spiralis (Radomyos et al., 1997)

Trichinella spiralis ตัวอ่อนระยะติดต่อ ในกล้ามเนื้อลาย (Radomyos et al., 1997)

- ใช้เวลาครบวงชีวิต ประมาณ 1 เดือน วงชีวิต (Life cycle) - ใช้เวลาครบวงชีวิต ประมาณ 1 เดือน - เป็นโรคติดต่อระหว่าง คน และ สัตว์ - การติดต่อของวงชีวิตที่สำคัญเกิดขึ้น ระหว่าง คน กับ หมู เป็นส่วนใหญ่

คน , หมู กินเนื้อหมูสุกๆดิบๆ ได้ cyst larvae ไปฝังตัวที่กล้ามเนื้อ larvae ที่duodenum ลอกคราบ 4 ครั้ง larvae เข้าหลอดเลือด เพศผู้ + เพศเมีย ที่ผนังลำไส้ larvae

พยาธิสภาพ (Pathology) : ทางเดินอาหารมีเลือดคั่ง : กล้ามเนื้อผิดปกติ (หัวใจอ่อนนุ่มผิดปกติ) : ปอดบวม มีเลือดกระจาย : เยื่อหุ้มสมองอักเสบ

การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) 1. ประวัติการกินอาหาร 2. ตรวจชิ้นเนื้อดู cyst 3. Serology Test การรักษา (Treatment) Thiabendazole 50 mg / kg Body weight

(Control and Prevention) การควบคุมและป้องกัน (Control and Prevention) 1. ไม่รับประทานเนื้อสัตว์ดิบๆ 2. Deep freeze เนื้อสัตว์ (ช่วยทำลาย cyst ได้)

Dracunculus medinensis - ชื่อสามัญว่า “Guinea worm” - ทำให้เกิดโรค Dracunculiasis - พบมาก : ใน อินเดีย อาฟริกากลาง และตะวันตก ปากีสถาน อิหร่าน อิรัก ซาอุดิอาระเบีย โปรตุเกส - ไม่พบในประเทศไทย

รูปร่าง (Morphology) : ตัวผู้ ขนาดยาว 40 mm X 0.4 mm : ตัวเมีย ขนาดยาว 70-120 cm. X 0.7-1.7 mm : ในตัวเมีย สามารถพบ Rhabditiform larvae อยู่ใน uterus ( Rhabditiform larva มีขนาดประมาณ 500 – 750 X 15 – 25 um )

วงชีวิต (Life cycle) Adult worm เพศผู้ + เพศเมีย บริเวณ Axillary + inguinal D.H. เพศเมีย บริเวณผิวหนัง ตุ่มใส พองแตก 2Weeks เป็น Infective stage น้ำ L1 ใน Body cavity Cyclop กิน (I.H.)

พยาธิสภาพ (Pathology) : มีตุ่มพองที่ผิวหนัง : ตุ่มจะแตกออกในเวลา 1-3 วัน พยาธิโผล่หัวออกมาปล่อยตัวอ่อน : อาจเกิด Secondary infection : พยาธิตัวที่ตาย เกิดการสะสมของ หินปูน

การรักษา (Treatment) 1. รักษาอาการ Allergic reaction ใช้ Antihistamine 2. กำจัดตัวพยาธิ โดย : ผ่าตัด : ใช้ไม้พันหัวพยาธิ แล้วค่อยๆดึง ออกมา 3. ยา Hetrazanฆ่า Adult worm

Dracunculus medinensis (Sun, 1988)

Dracunculus medinensis (Sun, 1988)

(Control and Prevention) การควบคุมและป้องกัน (Control and Prevention) 1. ห้ามคนเป็นโรค “Dracunculiasis” ลงน้ำ 2. ระวังการดื่มน้ำดิบในแหล่งระบาด 3. กำจัด Cyclops

Gnathostoma spinigerum - พบมากใน ไทย , ญี่ปุ่น - พบมากใน ไทย , ญี่ปุ่น - เรียก “ ตัวจี๊ด “ (ศ. หลวงเฉลิมคัมภีรเวชช์ และ ศ. นพ. สวัสดิ์ แดงสว่าง)

รูปร่าง (Morphology) - สีแดงค่อนข้างโปร่งแสง - สีแดงค่อนข้างโปร่งแสง - หัวและหางมักงอมาทางด้านท้อง - ส่วนหัว โป่งเป็นกระเปาะ Cephalic Bulb - หัวมีหนามเรียง 8 แถว - ปากมี Trilobed lip 2 อัน - ตัวผู้ 11-25 mm X 1-2 mm - ตัวเมีย 25-45 mm X 3-6 mm - Larva มี spine 4 แถวที่หัว

Adult worm (Radomyos et al., 1997)

Adult Head Bulb G. spinigerum (Sun,1988)

Gnathostoma spinigerum (Radomyos et al., 1997) male

Gnathostoma spinigerum (Radomyos et al., 1997) Female

วงชีวิต (Life cycle) ศ. นพ. สวัสดิ์ 1937 (พ.ศ. 2480) โดย ศ. หลวงเฉลิมคัมภีรเวชช์ และ ศ. นพ. สวัสดิ์ 1937 (พ.ศ. 2480)

ของสัตว์กินเนื้อ (แมว , สุนัข) Adult ในกระเพาะ ของสัตว์กินเนื้อ (แมว , สุนัข) กินปลาดิบ ไข่ลงน้ำ L3 ในกล้ามเนื้อ 2nd I.H. L1 ใน Cyclop 1st I.H. L2 ใน ปลา กบ งู 2nd I.H. L2

พยาธิสภาพ (Pathology) คนเป็น Accidental host : หลัง Infect 24-48 ชม. ปวดใต้ลิ้นปี่ : ผิวหนัง บวม ผื่นแดง : เข้าตา ตาบวม อักเสบ บอด : ปอดอักเสบ : สมอง มีผลต่อระบบประสาท : หู ปวดหู หน้าบวม

(Sun, 1988)

การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) 1. ประวัติการกินอาหาร 2. ลักษณะการบวมเคลื่อนที่ 3. ผ่าตัวพยาธิ ได้จากผิวหนัง

(Control and Prevention) การรักษา (Treatment) ปัจจุบันยังไม่มียาที่ให้ผลดีในการรักษา มีแต่ยาที่ใช้ลดอาการบวม การควบคุมและป้องกัน (Control and Prevention) - ไม่ควรกินอาหารดิบ โดยเฉพาะปลาดิบ

Angiostrongylus cantonensis - “ Rat Lung Worm” - คนเป็น accidental host - เกิดโรค “ Eosinophilic meningo-encephalitis ” (Angiostrogyliasis)

รูปร่าง (Morphology) คือ เห็นอวัยวะภายในบิดเป็นเกลียว ตัวเมียมีลักษณะพิเศษ คือ เห็นอวัยวะภายในบิดเป็นเกลียว เรียก Barber’s pole

ตัวอ่อนระยะที่ 3 Angiostrongylus cantonensis

Angiostrongylus cantonensis (Radomyos et al., 1997) Female

Angiostrongylus cantonensis (Radomyos et al., 1997) Male

วงชีวิต (Life cycle) D.H. - Rat I.H. - Land snail , Freshwater snail

Adult ในหลอดเลือดที่ ปอด , หัวใจ กินหอยดิบ ไชเข้าหอย I.H. (L1 L2 L3) ไข่ในเลือด L1 ออกมากับอุจจาระ ฟักเป็นตัวไชผนังถุงลม ไปหลอดอาหาร

พยาธิสภาพ (Pathology) - เยื่อหุ้มสมองอักเสบ - เยื่อหุ้มสมองอักเสบ การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) 1. ประวัติคนไข้ 2. ตรวจ CSF (Central spinal fluid )

Angiostrongylus cantonensis พบใน ocular ของผู้ป่วย (Sun,1988)

- ไม่มียารักษาโดยเฉพาะ แต่อัตราการตายต่ำ การรักษา (Treatment) - ไม่มียารักษาโดยเฉพาะ แต่อัตราการตายต่ำ ผู้ป่วยมักจะหายเอง การควบคุมและป้องกัน(Control and Prevention) 1. ให้ความรู้กับประชาชน (แนะนำให้ประชาชนไม่ รับประทาน หอยดิบ กุ้งดิบ) 2. ทำลายหอยที่เป็นโฮสต์กึ่งกลาง 3. ทำลายหนูที่เป็นโฮสต์ธรรมชาติ

- พยาธิตัวกลม ใน Subfamily Anisakinae Anisakiasis - พยาธิตัวกลม ใน Subfamily Anisakinae Genus Anisakis Genus Pseudoterranova

- เกิดจากตัวอ่อนของพยาธิ Anisakis spp. True Anisakiasis - เกิดจากตัวอ่อนของพยาธิ Anisakis spp. - พบตัวอ่อนในปลาพวก Mackerel และ Herring (บางครั้งเรียก Herring Worm) - Adult อยู่ในกระเพาะสัตว์พวก Cetaceans ได้แก่ ปลาวาฬ ปลาโลมา

- เกิดจากตัวอ่อนของพยาธิ Pseudoterranova spp. Codworm Anisakiasis - เกิดจากตัวอ่อนของพยาธิ Pseudoterranova spp. - ตัวอ่อนพบในปลา Cod และ Pollock (เป็นปลาที่มีการ migrate ไปที่บริเวณน้ำเย็น) - Adult อยู่ในกระเพาะของสัตว์พวก Pinnipedia ได้แก่ Seals , Sealions , Walrus

Larvae of Anisakis spp. (Sun,1988)

Third stage larvae of Pseudoterranova decipiens (Sun,1988)

larvae of Pseudoterranova decipiens (Sun,1988)

การแพร่กระจาย (Distribution) - พบในประเทศที่นิยมกินปลาดิบ เช่น - พบในประเทศที่นิยมกินปลาดิบ เช่น ฮอลแลนด์ ญี่ปุ่น ประเทศชายฝั่งแปซิฟิค สแกนดิเนเวีย - มีรายงานครั้งแรกในประเทศ เนเธอแลนด์ (ค.ศ. 1955) - ในประเทศญี่ปุ่นมีรายงานครั้งแรก ปี ค.ศ. 1965

วงชีวิต (Life cycle) คนเป็น Paratenic host L3 Anisakis L4 Codworm

อยู่ใน stomach wall ของ โฮสต์ Adult worm อยู่ใน stomach wall ของ โฮสต์ Paratenic host Embryonated egg (L1) L3 encapsulate ในกล้ามเนื้อ L2 Free-swimming ถูก กิน Intermediate host พวก Crustacean ( L3 )

อาการ (Sign and Symptom) - ผู้ป่วยมีอาการ ปวดท้อง เนื่องจากพยาธิ - ผู้ป่วยมีอาการ ปวดท้อง เนื่องจากพยาธิ ไชกระเพาะอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดบริเวณลิ้นปี่ - พบอาการหลังจากกินปลาดิบ (ภายใน 12 ชม.)

การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) 1. Endoscope biopsy forcep 2. Radiology ( Radiological Techniques ) การรักษา (Treatment) - ผ่าตัดเอาพยาธิออก ใช้ Biopsy

(Control and Prevention) - รับประทานปลาทะเล ใช้ความร้อนเกิน การควบคุมและป้องกัน (Control and Prevention) - รับประทานปลาทะเล ใช้ความร้อนเกิน 60o C หรือ เย็นต่ำกว่า –20o C (24 ชม.)

เอกสารอ้างอิง จิตรา ไวคกุล และคณะ 2536 ปรสิตหนอนพยาธิ ภาควิชาปาราสิต จิตรา ไวคกุล และคณะ 2536 ปรสิตหนอนพยาธิ ภาควิชาปาราสิต หนอนพยาธิ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ หน้า 20 - 25 ประยงค์ ระดมยศ,อัญชลี ตั้งตรงจิตร,พลรัตน์ วิไลรัตน์,ศรชัย หลูอารีย์สุวรรณและแทน จงศุภชัยสิทธิ์ 2538 Atlas of Medical Parasitology with 456 colour illustrations 2nd edition กรุงเทพฯ หน้า 79 - 86 นิมิตร มรกต 2539 ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ โปรโตซัวและหนอนพยาธิ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หน้า 159 - 264

วิฑูรย์ ไวยนันท์และพีรพรรณ ตันอารีย์ 2535 ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล หน้า 200 - 281 Ash,L.R. and Orihel, T.C. 1984. Atlas of Human Parasitology. 2nd edition American Society of Clinical Parthologists Press, Chicago. 212 pages. Beaver, P.C.; Jung,R.C. and Cupp, E.W. 1984. Clinical Parasitology Lea & Febiger, Philadelphia. Bhaibulaya, M. and Stiyathai,A. 1982. Infectivity of Anisakis larvae type I recovered from the gulf of Thailand. Southeast Asian J. Trop. Med. Pub. Hlth, 13:202-205.

Daengsvang,S. 1980. A monograph on the genus Gnathostoma and gnathostomiasis in Thailand. Tokyo: SEAMIC, 117 pages. Ratanaponglakha, D. and Ambu, S. 1989. Humoral immune response of Balb/c mice to larval and adult worm antigen of Angiostrogylus malaysiensis. Southeast Asian J. Trop. Med. Pub. Hlth, 20 : 227 - 231.