งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พยาธิใบไม้ตับ (Liver Flukes).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พยาธิใบไม้ตับ (Liver Flukes)."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พยาธิใบไม้ตับ (Liver Flukes)

2 พยาธิใบไม้ตับ (Liver Flukes)
- พยาธิใบไม้ตับ เป็นพวกที่อาศัยอยู่ในท่อน้ำดีใน ตับ และท่อน้ำดีใหญ่ของโฮสต์ Family Opisthorchiidae Clonorchis sinensis Opisthorchis viverrini Opisthorchis felineus

3 Family Fasciolidae Fasciola hepatica Fasciola gigantica Family Dicrocoelidae Dicrocoelium dendriticum Eurytrema pancreaticum

4 Family Opisthorchiidae
Clonorchis sinensis Opisthorchis viverrini Opisthorchis felineus - รูปร่าง คล้ายกันคือ มีลักษณะเป็น Lancet shape - ขนาด ของ Clonorchis sinensis ใหญ่ที่สุด

5 ลักษณะของ Reproductive organ
1. Oval Ovary 2. Testes Clonorchis sinensis เป็น branch Opisthorchis viverrini เป็น lobe Opisthorchis felineus เป็น lobe

6 3. Vitelline gland Clonorchis sinensis เป็น cluster Opisthorchis viverrini เป็น transverse Opisthorchis felineus เป็น branch ลักษณะของไข่ มีรูปร่างและขนาดใกล้เคียงกัน

7

8 Opisthorchis viverrini
Clonorchis sinensis

9 - การแพร่กระจาย Clonorchis sinensis พบในประเทศ จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น และไทย Opisthorchis viverrini พบใน ลาว ไทย และ เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ Opisthorchis felineus พบในแถบยุโรป

10 Opisthorchis viverrini
การแพร่กระจาย (Distribution) - พบทุกจังหวัดใน ภาคตะวันออกเฉียง เหนือของประเทศไทย และบางจังหวัดของ ภาคเหนือ - พบในประเทศ ลาว และในแถบเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้

11 - รูปร่าง แบบ Lancet-shape (Posterior ป้านกว่า Anterior)
รูปร่าง (Morphology) - รูปร่าง แบบ Lancet-shape (Posterior ป้านกว่า Anterior) - ตัวมีลักษณะใส โปร่งแสง และมี uterus ออกสีเทาดำ - ขนาด ยาว mm , กว้าง mm - sucker 2 อัน ขนาดพอๆกัน - Excretory bladder เป็น sac-like tube ยาวๆ - Testes 2 อัน เป็น lobe - ไข่สีน้ำตาลอ่อน มีOperculum , Shoulder , Knob (ขนาด19-29 X um) - พยาธิ 1 ตัว ออกไข่ ใบ/วัน

12

13

14

15 - Adult อาศัยอยู่ในท่อน้ำดีในตับ ของ
วงชีวิต (Life cycle) - Adult อาศัยอยู่ในท่อน้ำดีในตับ ของ Definitive host (พบใน คน,สุนัข และแมว) - ไข่ถูก หอย (1st I.H. = Bithynia spp.) กิน - ภายในหอยมีการเจริญเติบโตจนกระทั่ง ปรสิตกลายเป็นระยะ cercaria

16 - cercaria จะไชเข้าสู่ 2nd I.H. ซึ่งได้แก่
ปลาน้ำจืด พวก ปลาแม่สะแด้ง (Cyclochellicthys siaja) ปลาตะเพียนทราย (Hampala dispar) ปลาสูตร (Puntius orphoides) - ในปลา ปรสิต จะเปลี่ยนแปลงไปเป็น metacercaria เมื่อคนกินจะได้รับปรสิต กลายเป็นตัวแก่ในท่อน้ำดีต่อไป

17 Adult ในท่อน้ำดีในตับของ D.H. metacercaria ในปลาดิบ
ไข่ ถูก หอย กิน cercaria ไชเข้าปลา metacercaria ในปลาดิบ

18

19 Miracidium ออกจาก ไข่

20 หอย Bithynia sp.

21 Cercaria ของพยาธิใบไม้ตับ

22

23 ระบาดวิทยา (Epidemiology)
- พบการระบาด ในช่วง ปลายฤดูฝน (กันยายน – พฤศจิกายน) ฤดูร้อน (กุมภาพันธ์ – มีนาคม) - พบการติดเชื้อใน เด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบ ประมาณ 35% อายุ 10 ปี - ผู้ใหญ่ ประมาณ 80 – 90%

24 พยาธิวิทยา (Pathology)
- การเปลี่ยนแปลงของพยาธิสภาพจะเห็นได้ชัด เมื่อมีพยาธิมากๆ หรือมีพยาธิเป็นเวลานาน - พยาธิตัวแก่ไปอุดตันท่อน้ำดีส่วนปลาย

25 - จะรุนแรงมากขึ้นเมื่อมีอาการแทรกซ้อน ได้แก่
1. การขาดโปรตีน 2. พิษสุราเรื้อรัง 3. ตับอักเสบ (ไวรัส) 4. เนื้องอกในตับ ความรุนแรงของโรคจะทำให้เกิดตับแข็ง และตับวาย ในที่สุด

26

27 อาการ (Sign and Symtom) - มีอาการมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนของพยาธิ
- มีอาการมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนของพยาธิ ระยะเวลา พยาธิสภาพของตับ และโรคอื่นที่แทรกซ้อน 1. ชนิดไม่ปรากฏอาการ มีพยาธิ ประมาณ ตัว พบไข่น้อยมาก 2. อาการอย่างอ่อน ผู้ป่วยรู้สึก ร้อนๆทางใต้ชายโครงขวา มีท้องขึ้น ท้องเฟ้อเป็นครั้งคราว พบไข่ 1000 ใบ ในอุจจาระ 1 กรัม

28 3. อาการปานกลาง ผู้ป่วยมีอาการท้องขึ้น ท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อยเป็นประจำ มีอาการเจ็บตื้อๆ และรู้สึกร้อนๆบริเวณตับ ตับสามารถคลำพบ กดเจ็บ อุจจาระบ่อย และสลับกับท้องผูก อาจพบมีอาการไข้ต่ำๆ และมีดีซ่านได้ด้วย พบไข่ 3000 ใบ ในอุจจาระ 1 กรัม

29 4. ชนิดอาการรุนแรง เป็นระยะสุดท้ายของโรค เช่นติดเชื้อมาเป็นเวลานาน จำนวนพยาธิมาก มีอาการท้องขึ้น ท้องเฟ้อ เบื่ออาหาร ผอมลง แสดงอาการขาดอาหารและโปรตีน ตับโตแข็ง และอาจมีมะเร็งร่วมด้วย

30 การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis)
1. ตรวจหาไข่พยาธิในอุจจาระ 2. ตรวจหาตัวแก่ของพยาธิ จากการผ่าตัด ถุงน้ำดี ผ่าตัดตับ หรือดูดน้ำจากตับ การรักษา (Treatment) ปัจจุบันใช้ยา Praziquantel

31 การควบคุมและป้องกัน (Control and Prevention)
1. แนะนำประชาชนให้เลิกรับประทาน ปลาดิบ หรือสุกๆ ดิบๆ 2. ให้ความรู้กับประชาชน 3. จัดการสุขาภิบาลให้ถูกต้อง 4. ทำลายโฮสต์กึ่งกลาง 5. ให้ยารักษา

32 Family Fasciolidae Fasciola gigantica เป็นพยาธิใบไม้ในตับ แกะ วัว ควาย
Fasciola hepatica Fasciola gigantica เป็นพยาธิใบไม้ในตับ แกะ วัว ควาย ในคนมักพบเป็น Ectopic foci คือจะอยู่นอกตับ ขนาดของ พยาธิตัวแก่ ไข่ และตัวอ่อน ใหญ่

33 รูปร่างของพยาธิทั้ง 2 ชนิดแตกต่างกันคือ
Fasciola hepatica รูปร่างสั้นกว่า Fasciola gigantica ยาว คล้ายใบไผ่ (Bamboo leaf) ทำให้เกิดโรค Fascioliasis หรือ Fasciolosis เรียก เป็น The sheep liver fluke

34

35 Fasciola hepatica

36 Fasciola gigantica

37 การแพร่กระจาย (Distribution) - Fasciola hepatica พบทั่วไปในอเมริกา
แอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย ยุโรป - Fasciola gigantica พบได้ทั่วไป และ สามารถพบในประเทศไทย

38 - ขนาดประมาณ 20-30 mm กว้าง 13 mm
รูปร่าง (Morphology) - ขนาดประมาณ mm กว้าง 13 mm - ผิวนอกมีหนาม (spiny tegument) - บริเวณหัวมีส่วนยื่นออกไปเรียก Cephalic cone - Oral sucker มีขนาด 1 mm Ventral sucker ขนาด 1.6 mm อยู่ชิดกัน

39 Pharynx แข็งแรง หลอดอาหารสั้น
Testes มี 2 อัน เป็นแขนง - Ovary เป็นแขนงอยู่ทางด้านหน้า Anterior testes - ไข่ใบใหญ่ รูป ovoidal มี operculum เล็กๆ สีน้ำตาลอมเหลือง ขนาด 130 – 150 X 60 –80 um

40 - 1st I.H. ได้แก่ หอย Lymnaea sp.
วงชีวิต (Life cycle) - 1st I.H. ได้แก่ หอย Lymnaea sp. (Radix sp.) - 2nd I.H. ได้แก่ พืชผัก

41 Family Dicrocoelidae Dicrocoelium dendriticum
- พบแถว ยุโรป แอฟริกา อินเดีย อเมริกา 1st I.H. คือ Land snail 2nd I.H. คือ Ant - D.H. ได้แก่ แพะ, แกะ

42 Eurytrema pancreaticum
พบแถว จีน ไทย มาเลเซีย ญี่ปุ่น 1st I.H. คือ Land snail 2nd I.H. คือ Grasshopper , ant D.H. ได้แก่ โค, กระบือ

43

44 Dicrocoelium dendriticum

45 Eurytrema pancreaticum


ดาวน์โหลด ppt พยาธิใบไม้ตับ (Liver Flukes).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google