งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พยาธิใบไม้ลำไส้ (Intestinal Flukes).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พยาธิใบไม้ลำไส้ (Intestinal Flukes)."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พยาธิใบไม้ลำไส้ (Intestinal Flukes)

2 - พยาธิใบไม้ลำไส้ เป็นพวกที่อาศัยอยู่ในระบบ ทางเดินอาหาร ของโฮสต์
(Intestinal Flukes) - พยาธิใบไม้ลำไส้ เป็นพวกที่อาศัยอยู่ในระบบ ทางเดินอาหาร ของโฮสต์ - สามารถแบ่งออกได้ตามขนาดของลำตัวเป็น 3 กลุ่ม คือ

3 ขนาดใหญ่ (Large) Fasciolopsis buski (20-75 X 8-20mm)

4 ขนาดกลาง (Medium) Echinostoma ilocanum ( X mm) Echinostoma malayanum (9 X 2 mm) Echinostoma revolutum (8-11 X 1-2.5mm) Hypoderaeum conoideum (8 X 1.5 mm) Gastrodiscoides hominis (8-14 X 5-8mm)

5 ขนาดเล็ก (Small) Haplorchis yokogawai ( X mm) Haplorchis taichui ( X mm) Haplorchis pumilio ( X mm) Phaneropsolus bonnei ( X mm) Prosthodendrium Molenkampi ( X mm)

6 - เป็นพยาธิใบไม้ลำไส้ ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
Fasciolopsis buski - เป็นพยาธิใบไม้ลำไส้ ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด - ทำให้เกิดโรค Fasciolopsiasis - พบครั้งแรก โดย Busk (1843) จากกลาสีเรือ ที่ตายในกรุงลอนดอน

7 การแพร่กระจาย (Distribution)
- พบในประเทศ จีน ลาว เขมร บังคลาเทศ เวียตนาม มาเลเซีย เกาหลี และ ไทย - ในประเทศไทย มีรายงานครั้งแรก ปี พ.ศ โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์ สวัสดิ์ แดงสว่าง พบคนไข้ จากตำบล บางขุน ศรี เสียชีวิตที่ ร.พ. ศิริราช - ปัจจุบัน พบบริเวณ ภาคกลางของประเทศ ได้แก่ อยุธยา อ่างทอง สุพรรณบุรี และ นครปฐม

8 รูปร่าง (Morphology) - ตัวยาวรี ขนาดประมาณ : ยาว 20-75 mm
- ผิวหนังปกคลุมด้วยหนามเล็กๆ เป็น Transverse rows of small spines

9 Ventral sucker 2-3 mm ลำไส้เว้าเป็น 2 ตอน
Sucker 2 อัน Oral sucker 0.5 mm Ventral sucker 2-3 mm ลำไส้เว้าเป็น 2 ตอน

10 - ระบบสืบพันธุ์ Testes 2 อัน
เรียงตัวแบบ Tandem แตกเป็นแขนง Ovary แตกแขนง Vitelline gland มีลักษณะพิเศษ แตกแขนง 2 ข้างลำตัว ตั้งแต่ ventral sucker ถึง Posterior end

11 ไข่ มีขนาดใหญ่ 130-140 X 80-85 um รูปทรงรี (Oval shape)
เปลือกมีฝาปิด (Operculate egg) สีเหลืองปนน้ำตาล โปร่งใส

12 วงชีวิต (Life cycle) คนเป็น Definitive host หมูเป็น Reservoir host
Adult worm อยู่ในลำไส้ Duodenum และ Jejunum (ถ้ามีมากอาจพบได้ที่ Stomach และ Colon ได้)

13 miracidium ไชเข้าหอยที่เป็น intermediate host ได้แก่ Planorbid snail
ไข่ปนกับอุจจาระ ลงไปในน้ำ ฟักเป็น miracidium (ใช้เวลา 3-7 สัปดาห์ ที่อุณหภูมิประมาณ o C miracidium ไชเข้าหอยที่เป็น intermediate host ได้แก่ Planorbid snail ( Segmentina hemisphaerula , Segmentina trochoideus , Hippeutis sp. )

14 พยาธิเจริญในหอย เปลี่ยนแปลงรูปร่างและเพิ่มจำนวน
Miracidium Sporocyst Redia Cercaria

15 Cercaria ไชออกจากหอย ว่ายน้ำไป encyst ตามพืชน้ำ เรียก cyst นี้ว่า Metacercaria
พืชน้ำ ที่ถือได้ว่าเป็น 2nd Intermediate host ได้แก่ กระจับ (Water caltrop) แห้วจีน (Water chest nut) สายบัว (Lotus) ผักบุ้ง (Morning glory) ผักตบ (Water – hyacinth) เมื่อคนกินพืชพวกนี้ ดิบๆ ก็จะได้ Metacercaria

16 พยาธิจะออกจาก cyst โดยถูกย่อย ผนัง Cyst ที่ duodenum กลายเป็น Young fluke และโตไปเป็น Adult fluke กินเวลาในวงชีวิต ประมาณ 5 – 6 เดือน

17

18 (Sun,1988)

19 (Radomyos et al., 1997)

20 First Intermediate host หอยชนิด Hippeutis cantori
(Sun,1988)

21 Segmentina trochoideus Segmentina hemisphaerula
(Radomyos et al., 1997)

22 (Radomyos et al., 1997)

23 (Radomyos et al., 1997)

24 พยาธิสภาพ (Pathology)
ถ้ามีพยาธิมากภายใน host จะทำให้เกิดพยาธิสภาพได้ดังนี้ 1. Trauma เกิดแผลลึกในลำไส้ 2. Obstruction ภาวะอุดตัน 3. Toxic damage

25 อาการ (Sign and Symtom)
ระยะแรก - เริ่มจาก Toxic diarrhea มีอาการ หิวปวด (Hunger Pain) - Mucosa อักเสบ ทำให้มีอาการ คล้าย Peptic ulcer (อาการแผลเปื่อยที่ - เยื่อบุของหลอดอาหารและ กระเพาะ เนื่องจากน้ำย่อยมากัด) - เกิดอาการ Malnutrition ในที่สุด

26 ระยะหลัง - อุจจาระจะมีสีเขียวๆ หยาบ
กลิ่นเหม็นมาก - มีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน - มีน้ำในช่องท้อง (Ascites)

27 ระยะสุดท้าย - มีอาการบวม (หน้าบวม
ท้องบวม ขาบวม) - ผิวหนังแห้ง อ่อนเพลีย - มักตายด้วยอาการ Intoxication (อาการพิษ)

28 การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis)
ประวัติเกี่ยวกับพื้นที่แพร่ระบาด (Endemic area) ตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิ การรักษา (Treatment) 1. รักษาตามอาการ 2. ให้ยา Praziquantel

29 การควบคุมและป้องกัน (Control and Prevention)
1. พืชน้ำควรแกะเปลือกออก หรือต้ม เพื่อฆ่า Metacercaria เสียก่อน 2. จัดการสุขาภิบาลให้ดี 3. ทำลายโฮสต์กึ่งกลาง

30 Gastrodiscoides hominis
- เป็นพยาธิใบไม้ในลำไส้ ที่มีขนาด ของไข่ใหญ่ที่สุด - พบครั้งแรกใน caecum ของคนไข้ ชาวอินเดีย - ปกติพบได้บ่อยในประเทศอินเดีย เวียตนาม และ ฟิลิปปินส์

31 ในประเทศไทย มีรายงาน ดังนี้
ปี พ.ศ พบใน หมู พ.ศ พบใน ค่าง ที่เขาดิน (นำมาจาก จังหวัดชุมพร) พ.ศ พบใน คน ที่จังหวัดพิจิตร ป่วยที่ ร.พ. พุทธชินราช จังหวัด พิษณุโลก เป็นผู้ป่วยหญิง อายุ 17 ปี ตายด้วย โรค Lymphosarcoma of mesenteric lymph node and large intestine (มะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ขั้วลำไส้)

32 รูปร่าง (Morphology) มีลักษณะแบบ Disc-shaped with anterior conical projection (หมายถึง Posterior มีรูปร่างกลม และ ทาง anterior เรียวเหมือนรูปกรวย) ขนาด 5-8 X 5-14 mm

33 วงชีวิต (Life cycle) - เป็นข้อมูลที่ได้จากการทดลองในห้องปฏิบัติการ
ตัวแก่อาศัยอยู่ใน ลำไส้ใหญ่ของโฮสต์ ไข่มีฝาปิดขนาด 150 –170 X 60 – 70 um ตัวอ่อน ระยะ miracidium จะเข้าไปเจริญในหอยน้ำจืด (ในอินเดีย พบว่าเป็นหอย Helicorbis coenosus cercaria สร้างซีสต์เป็น metacercaria ติดอยู่บนพืชน้ำ เช่นเดียวกับ F. buski

34 พยาธิสภาพ (Pathology)
เกิดการอักเสบบริเวณ caecum และ ascending colon ทำให้เกิดอาการ mucous diarrhea การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) ตรวจหาไข่ในอุจจาระผู้ป่วย ไข่คล้าย F. buski แต่ขนาดใหญ่กว่า และมี operculum แคบ สีเขียวปนเทา

35 (Control and Prevention)
การรักษา (Treatment) - ใช้ยา Praziquantel การควบคุมและป้องกัน (Control and Prevention) 1. ป้องกันการกินอาหารที่ไม่สุก 2. จัดการสุขาภิบาลให้ดี 3. ทำลายโฮสต์กึ่งกลาง

36 (Radomyos et al., 1997)

37


ดาวน์โหลด ppt พยาธิใบไม้ลำไส้ (Intestinal Flukes).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google