ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา c
ระบบสารสนเทศ.
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
Distributed Administration
ระบบสารสนเทศ (ต่อ) (Information Systems : IS)
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การเขียนผังงาน.
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (ง31102)
เรื่อง ประเภทของสาระสนเทศ 3.ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
ซอฟต์แวร์.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software design and development) 4 (3-2-6)
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
การจำลองความคิด
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)
Surachai Wachirahatthapong
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
บุคลากร (Peopleware) บุคลากรทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ค่อนข้างมีความจำเป็นที่ต้องมีความรู้หลากหลาย และมีความสนใจเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เสมอ และคอยติดตามข่าวสารความเป็นไปของเทคโนโลยีทางด้านนี้
การออกแบบและการวิเคราะห์อัลกอริทึม
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ.
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
Geographic Information System
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
การจัดการฐานข้อมูล.
หลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหา.
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ(Information Systems)
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
กลุ่มgirls’generation
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
คิดค้นโดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต (Mauchly and Eckert) ใช้อุปกรณ์ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นส่วนประกอบหลัก ทำให้ตัวเครื่องมีขนาด ใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก.
ARTIFICIAL INTELLIGENCE
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงาน
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
นำเครื่องคอมพิวเตอร์มาช่วยเก็บข้อมูล และ ประมวลผลข้อมูล เมื่อข้อมูลอยู่ภายในคอมพิวเตอร์ การแก้ไขหรือเรียกค้นสามารถทำได้ง่ายและสะดวก ขณะเดียวกันการทำสำเนาและการแจกจ่ายข้อมูล.
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์ ปัญญาประดิษฐ์ เป็นศาสตร์ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่เน้นการสร้าง พัฒนา ขั้นตอนวิธี หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสามารถปฏิบัติการ คำนวณ แสดงผล หรือแสดงการกระทำที่เรียกได้ว่ามีปัญญาหรือฉลาด

ปัญญาหรือความฉลาด ความสามารถที่จะเรียนรู้และเข้าใจ จากประสบการณ์ที่ได้พบ ความสามารถที่จะใช้ความรู้ ประสบการณ์ ในการแก้ปัญหาที่ไม่เคยพบ มาก่อนได้ ความสามารถในเชิงการคิดแบบนามธรรม (abstract) และ การใช้การ เปรียบเทียบ (analogy) ความสามารถในการใช้ตรรกะ หรือหลักการทางเหตุและผลในการแก้ ปัญหา ความสามารถในด้านอื่น ๆ เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ความคิดใหม่ ความใฝ่รู้และสนใจ

จุดมุ่งหมายของปัญญาประดิษฐ์ เพื่อจำลองปัญญาของมนุษย์ (Replicate Human Intelligence) AI เพื่อการแก้ปัญหาที่ต้องใช้ ความรู้จำนวนมาก (Solve Knowledge-Intensive tasks) เพื่อสร้างหรือเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู้ (perception) กับการกระทำ (action) อย่างฉลาด เพื่อทำให้การโต้ตอบและการสื่อสาร ระหว่าง มนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์กับคอมพิวเตอร์ และคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ประเภทของปัญญาประดิษฐ์ การประมวลภาษาธรรมชาติ ระบบภาพ ระบบเครือข่ายเส้นประสาท หุ่นยนต์ ระบบผู้เชี่ยวชาญ

ตัวอย่างของโปรแกรมประยุกต์สาขาต่าง ๆ ใน AI (Application areas of AI) การเล่นเกม (Game playing) การรับรู้ภาษาพูด (Speech Recognition) การรับรู้ด้วยการมอง (Computer Vision)

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems) เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (Knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ จะช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทำการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก จะทำให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่างมาก

ส่วนประกอบของ ES ฐานความรู้ เครื่องอนุมาน 2.1 การอนุมานไปข้างหน้า 2.2 การอนุมานแบบย้อนหลัง ส่วนดึงความรู้ ส่วนอธิบาย การติดต่อกับผู้ใช้

ประเภทของความรู้ ความจริง ความสัมพันธ์ ขั้นตอน องค์ความรู้

การพัฒนา ES การวิเคราะห์ปัญหา ES สามารถนำไปแก้ปัญหาที่มีลักษณะดังนี้ - เหมาะกับปัญหาที่ไม่มีโครงสร้าง - เหมาะกับการอนุมาน - Heuristic - ความรู้หรือตรรกะที่มีความไม่แน่นอน - ถ้า....... แล้ว...............

การพัฒนา ES (ต่อ) การเลือกอุปกรณ์ ต้องคำนึงถึง 2.1 การแสดงความรู้ต้องง่าย และครบถ้วน โดย มีโครงสร้างที่เหมาะสม เป็นสัดส่วน สะดวก เข้าใจง่าย และเหมาะสม 2.2 วิธีการอนุมาน 2.3 การติดต่อกับผู้ใช้ 2.4 ชุดคำสั่ง 2.5 การธำรงรักษาและการพัฒนาระบบ

การพัฒนา ES (ต่อ) 3. การถอดความรู้ เป็นหัวใจของการพัฒนาระบบความฉลาด ต้องอาศัย วิศวกรความรู้ ในการรวบรวมและวิเคราะห์ความรู้ 4. การสร้างต้นแบบ นำส่วนต่างๆมาประกอบกันสร้างเป็นต้นแบบขึ้นมา ต้องพิจารณาว่า คำตอบที่จะได้รับเป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่ 5. การขยาย ทดสอบ และบำรุงรักษา