ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 4 ปี (พ.ศ – 2561) ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2556.
ฝ่ายพลังงาน Energy Dept..
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
วันที่ 18 มกราคม 2556 นายโชคจุล สุคันธาพฤกษ์ รผก
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
“นโยบายส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์
ชื่อโครงการ : (ภาษาไทย) การเปรียบเทียบสมรรถนะ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ภาษาอังกฤษ) Comparative Benchmarking.
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
พลังพลเมือง : การ เผชิญหน้ากับวิกฤตและผลกระทบ ของโครงการพัฒนาเศรษฐกิจ ขนาดใหญ่ พลังพลเมือง : การ เผชิญหน้ากับวิกฤตและผลกระทบ ของโครงการพัฒนาเศรษฐกิจ ขนาดใหญ่
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 7
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
ECO CAR (ACES CAR ) รถประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล.
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
น้ำมันไบโอดีเซล คืออะไร
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
อะไรคือ “ไฮบริด”. อะไรคือ “ไฮบริด” ไฮบริด ( hybrid) คือ ระบบการทำงานของเครื่องยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สองระบบทำงานร่วมกัน โดยทั่วไปแล้วหมายถึงการทำงานร่วมกันระหว่างระบบสันดาปภายในที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิงทำงานร่วมกับระบบมอเตอร์ไฟฟ้า.
SOLAR CHIMNEY (ปล่องลมแสงอาทิตย์)
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
วิกฤตและโอกาสงานวิจัยข้าวไทย รศ. ดร
ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด สามเหลี่ยมอันดามัน
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) สวก.
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ปัญหา ….. ผลผลิต / รายได้ต่ำเพราะใช้พื้นที่ ผลิตพืชไม่เหมาะสม พื้นที่มีกำไร (40%) พื้นที่เท่า ทุน (40%) พื้นที่กินทุน ( ที่ลุ่ม ) พื้นที่กินทุน ( ที่ดอน.
ความหมายของสิทธิบัตร
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง
วิสัยทัศน์การวิจัยของประเทศไทยใน 20 ปี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล และยุทธศาสตร์ ศลช.
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
นโยบายพลังงาน - ปตท. และ ก๊าซ CBG 4. ประเทศไทยมีการพึ่งพาการนำเข้าด้านพลังงานอยู่ใน ระดับสูงและมีจุดอ่อนหลายประการ.
การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัย นายอภิวิชญ์ ปีนัง
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
Greenergy Health We Care บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
คลิกที่ตัวผมได้เลย!! ณ ดวงดาวแห่งหนึ่ง....
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
ผู้นำเสนอข่าว นายขจรยศ ชัย สุรจินดา. 3 วันที่แล้ว โครงการสิ่งแวดล้อมของ สหประชาชาติ ( ยูเนป ) ออกรายงานฉบับ ใหม่เกี่ยวกับสถานการณ์น้ำแข็งและหิมะ ของโลก.
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
RDF/ MSW Industry for Thailand
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ Project Feasibility
พืชพลังงานตัวใหม่ Tropical sugar beet(TSB)
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
แนะนำตัว นางสาวกุสุมา มากชูชิต ชื่อเล่น จูน รหัสนักศึกษา ภาควิชาพัฒนาการเกษตร นักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะทรัพยากรธรรมชาติ ปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาหร่าย พลังงานใหม่จากโลกใต้น้ำ Algae : a new energy from underwater world

ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน เช่น มันสำปะหลัง อ้อย ปาล์มน้ำมัน ก่อให้เกิดปัญหาด้านความมั่นคงทางอาหาร เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวจึงมีการแสวงหาแหล่งวัตถุดิบทดแทนอื่น ๆ และเราก็พบว่า สาหร่ายเซลล์เดียว ซึ่งจะมีทั้งในน้ำเค็มและน้ำจืด ที่เราเคยเห็นเม็ดเล็ก ๆ เขียว ๆ ในน้ำคลอง ถ้าอยู่ในทะเลก็เรียกว่า แพลงก์ตอน ซึ่งมีศักยภาพที่จะเป็นแหล่งพลังงานใหม่เพื่อทดแทนพลังงานจากปิโตรเลียมได้ ซึ่งสาหร่ายจัดเป็นพืชชั้นต่ำที่มีคลอโรฟิลล์สูง จึงใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในปริมาณมากเพื่อสังเคราะห์แสง ซึ่งช่วยลดภาวะโลกร้อนได้อีกทางหนึ่ง ที่สำคัญคือ มีน้ำมันในปริมาณมากพอที่จะสกัดออกมาผลิตน้ำมันไบโอดีเซลได้ และสาหร่ายใช้เวลาเพียง 4 ชั่วโมง ก็แตกตัวแล้วกินคาร์บอนไดออกไซด์เป็นอาหาร ซึ่งหากเปรียบเทียบกับการปลูกปาล์มดิบซึ่งใช้เวลานานหลายปี จึงสามารถนำมาทำผลผลิตน้ำมันได้ ทำให้ทั่วโลกกำลังตื่นตัวในการพัฒนาอย่างมาก

ในไทยก็เช่นกัน บริษัท ปตท ในไทยก็เช่นกัน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ได้ร่วมกับสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และมหาวิทยาลัยมหิดล ได้ร่วมกันศึกษาวิจัยและพัฒนาการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากสาหร่ายเซลล์เดียว ตั้งแต่ การคัดเลือกสายพันธุ์ การออกแบบระบบเพาะเลี้ยง การสกัดน้ำมัน ซึ่งระหว่างนี้กำลังเข้าสู่การทดสอบเชิงพาณิชย์ว่า วิธีใดจะเหมาะสมกับเครื่องยนต์และความต้องการใช้งานของคนไทยมากที่สุด เมื่อวันที่ 1 – 6 ก.ค. 2556 ที่ผ่านมา บริษัท ปตท. ได้นำคณะไปดูงานความร่วมมือการวิจัยสาหร่ายน้ำมัน ระหว่าง ปตท. กับองค์การวิทยาศาสตร์และวิจัยอุตสาหกรรมแห่งออสเตรเลีย ที่เมืองโฮบาร์ต รัฐทัสมาเนีย ประเทศออสเตรีเลีย นำโดย นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ซึ่ง ปตท. และองค์การวิทยาศาสตร์และวิจัยอุตสาหกรรมแห่งออสเตรเลียได้มี การติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลวิจัยด้านสาหร่ายเรื่อยมา และได้ตกลงในข้อหารือเพื่อเดินหน้าร่วมกันในการพัฒนาสายพันธุ์สาหร่ายน้ำเค็มในออสเตรเลีย เพื่อให้ได้สายพันธุ์ที่ดีและเหมาะสมในการผลิตน้ำมัน มีต้นทุนที่สามารถแข่งขันได้ในเชิงพาณิชย์ ซึ่งสาหร่ายน้ำเค็มขนาดเล็กดังกล่าว เป็นพืชพลังงานที่ให้ปริมาณน้ำมันมากกว่าปาล์มดิบ 20-30 เท่า การพัฒนาสาหร่ายเซลล์เดียว ถือเป็นเชื้อเพลงในยุคที่ 3 ซึ่ง ปตท. ตั้งเป้าหมายภายในปี 2560 จะผลิตน้ำมันสาหร่ายเพื่อเป็นทางเลือกของการใช้ไบโอดีเซล ซึ่งคาดว่าในอีก 20-30 ปีข้างหน้า จะสามารถผลิตในเชิงพาณิชย์ได้

ขอบคุณข้อมูลจาก หนังสือพิมพ์ข่าวสด ฉบับวันที่ 14 กรกฎาคม 2556 ขอบคุณข้อมูลจาก หนังสือพิมพ์ข่าวสด ฉบับวันที่ 14 กรกฎาคม 2556