เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักคิด หลักการ และการปฏิบัติงาน ให้ประสบผลสำเร็จ
Advertisements

ด.ญ.กชกร โชคเฉลิมวงศ์ เลขที่ 15 ป.4/3
เศรษฐกิจ พอเพียง.
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
การประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์
เศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขการตัดสินใจ แนวทางปฏิบัติ หลักพิจารณา
เศรษฐกิจพอเพียงกับบริการสุขภาพ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10
ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
เศรษฐกิจพอเพียง.
เศรษฐกิจพอเพียง M2A จัดทำโดย 1.ด.ช.สาโรจน์ อินทรไชย เลขที่ 16
ข้อควรรู้เพิ่มเติม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

เดินตามพ่อ อยู่อย่างพอเพียง หน้าหลัก ออกโปรแกรม.
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
การนำ หลักการ เศรษฐกิจพอเพียง มาใช้แก้ไขปัญหาการเมืองไทย
ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง.
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การพัฒนานวัตกรรมแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.กิตติมา สุภโรจนีย์ ป.4/6
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
จัดทำโดย ด.ญ.ดวงเดือน รักนุ้ย ชั้น ป.4/2 เลขที่31
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการศึกษาอบรมและสัมมนา หลักสูตรปลัดอำเภอบรรจุใหม่
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
การเรียนรู้ ตามรอยพระยุคลบาท.
วิสัยทัศน์ Vision สหกรณ์ที่มีความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ สังคม รักษ์สิ่งแวดล้อม นำพาคนสหกรณ์มีความสุข.
บรรยายโดย วิโชติ จงรุ่งโรจน์ สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคใต้
“การสร้างองค์กรต้นแบบ เศรษฐกิจพอเพียง โดยการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ” จัดโดย สำนักงาน ปปช. สรุปและนำเสนอโดย ภญ.ธีรารัตน์ สุวรรณาลัย.
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
T O GIS online.
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy.
สหเวชศาสตร์(กายภาพบำบัด)
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
โครงการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาทและโครงการพระราชดำริ (หลักสูตรกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน) การมอบนโยบายกรมการปกครอง โดย นายกฤษฎา บุญราช อธิบดีกรมการปกครอง วันจันทร์ที่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
GO!!.
เศรษฐกิจพอเพียง.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ความเสี่ยงและการสร้างภูมิคุ้มกันของประเทศ
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
พ่อของแผ่นดิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม เศรษฐกิจพอเพียง เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม พระบรมราโชวาท 5 พ.ค. 2493

การพัฒนา “คน” เป็นตัวตั้ง ยึดหลัก ประการแรก การพัฒนา “คน” เป็นตัวตั้ง ยึดหลัก * ผลประโยชน์ของประชาชน (ความอยู่ดีมีสุข) * การมีส่วนร่วมตัดสินใจของประชาชน ผลประโยชน์ของประชาชน มองคุ้มค่ามากกว่าคุ้มทุน หรือ ความอยู่ดีมีสุขของประชาชน (Customer Satisfaction) แต่ธุรกิจ มองกำไรและเงินปันผลในส่วนของผู้ถือหุ้น การมีส่วนร่วมตัดสินใจของประชาชน (มีการทำประชาพิจารณ์ และให้ผู้นำท้องถิ่นดำเนินการร่วมกัน)

ประการที่สอง ยึดหลัก : ภูมิสังคม (ลักษณะภูมิประเทศ หรือภูมิศาสตร์) ที่มีความแตกต่างในภูมิภาคและท้องถิ่น ตามสภาพแวดล้อมๆตัวคน อยู่บนพื้นฐานของภูมิประเทศทางสังคมวิทยา โดยคำนึงถึงวิถีชีวิตของ “คน” ในสังคม เช่น วัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อและศาสนา ประเพณี เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อมในสังคม ต้องมีความรู้ ความเข้าใจในสภาพภูมิสังคมของคนในพื้นที่นั้นๆว่ามีปัญหาเช่นไร หรือมีความต้องการอะไร เพื่อวางแผนดำเนินการหาแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องความต้องการของประชาชนในพื้นที่มากที่สุด

การพัฒนาจาก “การพึ่งตนเอง” ให้ได้ก่อน ประการสาม การพัฒนาจาก “การพึ่งตนเอง” ให้ได้ก่อน (เสริมสร้างความเข็มแข็งให้ตนเอง นำไปสู่ชุมชน) ยึดหลัก * รู้จักพอประมาณตน * ดำเนินการด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง * ทำตามลำดับขั้นตอน * รู้จักพอประมาณตน(พอมี พอกิน พอใช้) * ดำเนินการด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง * ทำตามลำดับขั้นตอน (มีการวางแผน ดำเนินการติดตามประเมินผล รวมถึงระบบเตือนภัย) (พัฒนาตนเองให้เข็มแข็ง แล้วจึงพัฒนาชุมชนให้แข็งแกร่งเชื่อมสู่สังคมภายนอก) “ระเบิดจากข้างใน”

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแผน 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) ปรัชญา “คน” เป็นศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการพัฒนาประเทศที่สมดุล เป็นธรรม และยั่งยืนในที่สุด

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแผน 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) แนวคิดหลัก แนวทางการดำรงอยู่และการปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการ พัฒนาและการบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัตน์ แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศไทยให้สามารถดำรงอยู่ในประชาคมโลกอย่างมั่นคง มีเกียรติ ศักดิ์ศรี สงบสุข สันติกับนานาประเทศจำเป็นต้องปรับกระบวนทัศน์และวิถีการพัฒนาประเทศในแนวทางสายกลางบนพื้นฐานความสมดุลพอดีระหว่าง”ความเข้มแข็งในการพึ่งพาตนเองของประชาชนและชุมชนที่เป็นฐานรากของสังคมและความสมดุลในประโยชน์ของทุกภาคส่วนเศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นธรรมกับความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของภาคธุรกิจและความร่วมมือเป็นพันธมิตรการพัฒนากับประเทศต่างๆของไทยในยุคโลกาภิวัตน์

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแผน 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) เป้าประสงค์ ให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี ความสมดุลของวิถีการพัฒนาให้เกิดขึ้นทุกมิติของการพัฒนาบูรณาการเป็นองค์รวมที่มี “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมและการเมือง รวมทั้งความสมดุลระหว่างมิติทางวัตถุกับจิตใจของคนในชาติ ขณะเดียวกันต้องสร้างความสมดุลของการพัฒนาระหว่างภายในประเทศกับโลกภายนอก โดยต้องรู้เท่าทันโลกาภิวัตน์ สามารถปรับตัวพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบจากความผันผวนของกระแสโลกาภิวัตน์

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแผน 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) หลักการ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ความพอเพียง มีคุณลักษณะ ๓ ประการที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างกันอย่างเป็นระบบ ความมีเหตุผล คือ SWOT เป็นการคิดวิเคราะห์เหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องและคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ย่างรอบคอบโดย”รู้เรา” ว่ามีจุดแข็งจุดอ่อนในการพัฒนาเรื่องใดบ้าง และรู้เท่าทันสถานการณ์โลกในยุคโลกาภิวัตน์ และ”รู้เขา”โดยเข้าใจถึงโอกาสและภัยคุกคาม ข้อดี ข้อเสียที่เกิดขึ้นจากกระแสโลกาภิวัตน์ เพื่อที่จะเลือกรับหรือนำสิ่งที่ดีและมีความเหมาะสมมาประยุกต์ใช้และเตรียมพร้อมรับมือกับสถานการณ์ที่อาจเป็นภัยคุกคามประเทศ วิธีคิดอย่างมีเหตุผลดังกล่าวนี้ จะนำไปสู่การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียง หรือหลัก “ความพอประมาณ” คือ การรักษาสมดุลหรือความพอประมาณระหว่างความสามารถในการพึ่งพาตนเองกับความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลกและการสร้างพันธมิตรในการพัฒนา อย่างไรก็ตาม ต้องคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยมีการเตรียมการจัดการความเสี่ยงด้วยระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ให้พอเพียงพร้อมรับผลกระทบและเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆที่เกิดขึ้น ทั้งจากภายนอกและภายในประเทศ

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแผน 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) เงื่อนไขพื้นฐาน จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอนและขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ ในการขับเคลื่อนกระบวนการวางแผนและการพัฒนาทุกขั้นตอนให้เป็นไปตามหลักการ “ความพอเพียง” จำเป็นต้องใช้ “ความรอบรู้” (การวางกลยุทธ์) จากหลักวิชาและประสบการณ์ในชีวิตซึ่งคือภูมปัญญาท้องถิ่น แล้วนำ “ความรอบคอบ” มาเชื่อมโยงเข้าด้วยกันรอบด้านและสอดคล้องกับการนำไปใช้ในการวางแผนและดำเนินการอย่างระมัดระวัง เป็นไปตามลำดับขั้นตอนและสอดคล้องความเป็นจริงของวิถีชีวิตสังคมไทย (ติดตามประเมินผล) เพื่อป้องกันความผิดพลาดล้มเหลวและเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จได้อย่างสมบูรณ์และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาประเทศ ในขณะเดียวกันต้องเสริมสร้างศิลธรรมทางจิตใจของคนในชาติใน ทุกภาคส่วนและทุกระดับโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นัดวิชาการและนักธุรกิจ เอกชน ให้มีจิตสำนึกใน”คุณธรรม” (Corporate Governance) มีจริยธรรม ความซื่อสัตย์สุจริตในการปฏิบัติหน้าที่และ ดำเนินชีวิตด้วย “ความเพียร”คือ ความอดทน ขยันหมั่นเพียร มีสิติปัญญา ความรอบรู้และความรอบคอบ (Learning & Growth) อันจะเป็นภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีให้พร้อมเผชิญต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ทั้งในระดับครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ

กระบวนทรรศน์การพัฒนาประเทศไทย ในระยะ10 – 15 ปีข้างหน้า พัฒนาแบบองค์รวม โดยคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา อยู่บนพื้นฐานของดุลภาพเชิงพลวัตที่เชื่อมโยงทุกมิติอย่างบูรณาการ พัฒนาแบบองค์รวม โดยคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา อยู่บนพื้นฐานของดุลภาพเชิงพลวัตที่เชื่อมโยงทุกมิติอย่างบูรณาการ ทั้งมิติ ตัวคน สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและการเมือง ส่วนดุลยภาพ การพัฒนาระหว่างภายใน คือ ความเข้มแข็งในการพึ่งพาตนเองของฐานราก(รากหญ้า) ของสังคมและความสมดุลในประโยชน์ของทุกภาคส่วนเศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นธรรม กับภายนอก คือ ความสามารถใน การแข่งขันทางเศรษฐกิจและสร้างพันธมิตรการพัฒนาในโลกาภิวัตน์ โดยให้ความสำคัญของทุนสังคม ทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทุนเศรษฐกิจมาใช้ประโยชน์อย่างบูรณาการและเกื้อกูลกัน ควบคู่การ เสริมสร้างวัฒนธรรมาภิบาลและประชาธิปไตยในทุกภาคส่วนและทุกระดับ โดยใช้ความรอบรู้ คุณธรรม และความเพียรในกระบวนการพัฒนาที่บนหลักการความพอประมาณ ความมีเหตุผลและมีภูมิคุ้มกันที่ดีให้ พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์

(ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน) ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง ทุนทรัพยากร ธรรมชาติ ทุนสังคม ความมีเหตุผล ทุนเศรษฐกิจ ทุนสิ่งแวดล้อม ความพอประมาณ คน การมีภูมิคุ้มกันที่ดี เงื่อนไขคุณธรรม (ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน) เงื่อนไขความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ยุทธศาสตร์การสร้าง ความมั่นคงของฐาน ทรัพยากรและความ หลากหลายทาง ชีวภาพและ คุณภาพ สิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์การ เสริมสร้างระบบและ วัฒนธรรมาภิบาล และประชาธิปไตย ในสังคมไทย ยุทธศาสตร์พัฒนา คุณภาพคนและสังคม แห่งศีลธรรมและ ฐานความรู้ ยุทธศาสตร์การสร้าง ความเข้มแข็งของ ชุมชนและครือข่าย การพัฒนาใน ภูมิภาคและ ท้องถิ่น ยุทธศาสตร์การ พัฒนาเศรษฐกิจ ไทยบนฐานการผลิตที่แข็งแกร่ง ของประเทศ

Q/A