ความถี่ในการส่งสัญญาณดาวเทียม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
Google Maps.
แผ่นดินไหว.
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
ระบบสุริยะ (Solar System).
ดาวเทียมไทยคม.
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
(Global Positioning System)
หน่วยที่ 5 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Mahidol Witthayanusorn School
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
1). ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)
นำเสนอหนังสือวิชาการ
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ข้อดี-ข้อเสียของ สื่อกลาง ในการสื่อสารข้อมูล.
ข้อดี ข้อเสีย สายคู่บิดเกลียว สายคู่บิดเกลียวแบบไม่หุ้มฉนวน
ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 2. ระยะทางจำกัด
ข้อดี ข้อเสีย สายโคแอกเชียล มีความคงทนสามารถเดินสายใต้ดินได้
สื่อลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อเสีย 1.จำกัดความเร็ว
ข้อดี-ข้อเสียของสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. พีรวัส เกิดสมนึก เลขที่11 นำเสนอ
เทคโนโลยีไร้สายและดาวเทียม
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
ระบบการสื่อสารดาวเทียม
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
ชุดรับสัญญาณจากดาวเทียม
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND
Satellite Home C band Ku band โดยส่วนใหญ่การรับสัญญาณจะใช้จาน
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
กล้องโทรทรรศน์.
การออกแบบการเรียนรู้ โดย ครูจตุพล สุทธิพันธ์
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
การตรวจอากาศด้วยเรดาร์
ข้อดี:ราคาถูก,มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน,ติดตั้งง่าย และมีน้ำหนักเบา
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
เรื่อง Token Bus LAN จัดทำโดย นายปรีชา สุขมาก นายจักรกริน ย่องนุ่น เสนอ นาย จังหวัด ศรีสลับ.
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
การเผยแพร่รายการ. โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV : Closed Circuit Television) เป็น โทรทัศน์ที่ติดตั้งตามสถานศึกษาต่างๆ ตลอดจนหน่วยงานบางหน่วย โดยมากจะทำ การผลิตรายการทางการสอนแล้วส่งภาพทาง.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
ข้อดี ราคาถูก ง่ายต่อการ นำไปใช้ ข้อเสีย จำกัด ความเร็ว ใช้กับ ระยะทาง สั้นๆ สายคู่บิดเกลียว.
สายคู่บิด เกลียว ข้อดี ราคาไม่แพงมาก น้ำหนักเบา ติดตั้ง ง่าย ข้อเสีย จำกัดความเร็วใช้กับระยะทางสั้นๆ ในกรณีเป็นสายแบบ ไม่มีชีลด์ ก็จะไวต่อ สัญญาณรบกวน.
Facies analysis.
คณะผู้จัดทำ 1. ด. ญ. สุกันยา มะลิวัลย์ 2. ด. ญ. พชรมน กองอรรถ 3. ด. ญ. สุรัสวดี ภู่รักษ์ เสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติดรัมย์ เครือข่ายระบบไร้สาย wirless LAN.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อกลางในการสื่อ สารข้อมูลสายคู่บิดเกลียวสายใยแก้วนำแสงระบบไมโครเวฟสายโคแอกเชียลระบบดาวเทียม.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
วิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย ช่วงปี History in of Television in Thailand.
เครือข่าย MAN จัดทำโดย ด.ญ.รวงข้าว วิริยกสิกร ม.๒/๔ องคุณที่นี่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความถี่ในการส่งสัญญาณดาวเทียม

ระบบการส่งสัญญาณผ่านดาวเทียมมี 2 แบบ 1.แบบ C – Band จะส่งคลื่นความถี่กลับมายังโลกอยู่ในช่วงความถี่ 3.4 – 4.2 GHz ซึ่งจะมีฟุตปริ้นท์ ที่มีขนาดกว้าง ครอบคลุมพื้นที่ การให้บริการได้หลายประเทศ เช่น ของดาวเทียมไทยคม 2/5 พื้นที่ให้บริการ คือทวีปเอเชีย และยุโรปบางส่วน 2.แบบ Ku – Band จะส่งคลื่นความถี่ 10 – 12 GHz สูงกว่าความถี่ C-Band สัญญาณที่ส่งจะครอบคลุมพื้นที่ได้น้อย จึงเหมาะสำหรับการส่งสัญญาณเฉพาะภายในประเทศ

ข้อดีและข้อเสียแบบ C - Band ข้อดี : การใช้ดาวเทียมระบบนี้เหมาะที่จะใช้ในประเทศใหญ่ๆ เพราะครอบคลุมพื้นที่การให้บริการได้หลายประเทศ ซึ่งใช้ดาวเทียมหนึ่งดวง ก็ถ่ายทอดสัญญาณได้ทั่วประเทศและยังถึงประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียงด้วย เช่น จีน,อินโดนีเซีย,เวียดนาม เป็นต้น ข้อเสีย : เนื่องจากส่งครอบคลุมพื้นที่กว้างๆ ความเข็มของสัญญาณจะต่ำ จึงต้องใช้จาน 4 – 10 ฟุต ขนาดใหญ่รับสัญญาณภาพจึงจะคมชัด

ข้อดีและข้อเสียแบบ KU - Band ข้อดี : ความเข็มของสัญญาณสูงมากใช้จานขนาดเล็กๆ 60 – 120 เซนติเมตร ก็สามารถรับสัญญาณได้แล้ว เหมาะสำหรับส่งสัญญาณเฉพาะภายในประเทศ เช่น สัญญาณ CABLE TV ( UBC ) ข้อเสีย : ฟุตปริ้นท์ระบบ KU – Band จะแคบ ส่งเฉพาะจุดที่ต้องการ ครอบคลุมพื้นที่ได้น้อยทำให้เสียค่าใช้จ่ายสูง ปัญหาในการรับสัญญาณภาพ เวลาเกิดฝนตกภาพจะไม่มี สาเหตุเนื่องจากความถี่ของ KU-Band จะสูงมากเมื่อผ่านเมฆฝน

ฟุตปริ้นท์ ( FOOTPRINT ) ส่วนที่เป็นสายอากาศของดาวเทียม จะทำหน้าที่ส่งสัญญาณโทรทัศน์ลงมายังพื้นที่โลกให้มีรูปร่างเฉพาะตัวได้ เช่นหากต้องการส่งสัญญาณโทรทัศน์มายังประเทศไทยโดยเฉพาะ ก็ออกแบบสายอากาศของดาวเทียมให้มีลำคลื่น ครอบคลุมเฉพาะประเทศไทย ซึ่งลักษณะของลำคลื่นที่ออกแบบไว้ให้ครอบคลุมเฉพาะพื้นที่ที่ต้องการนี้ เราเรียกว่า ฟุตปริ้นท์ (Footprint) โดยดาวเทียมแต่ละดวงจะมีฟุตปริ้นท์เป็นลักษณะเฉพาะของตัวเอง ซึ่งพื้นที่ที่จะได้รับสัญญาณจากดาวเทียมได้ดี หรือ แรงที่สุดจะอยู่ในส่วนที่เรียกว่า ศูนย์กลาง (Center) ของฟุตปริ้นท์หากหลุดออกไปจากศูนย์กลางนี้ ความแรงของสัญญาณก็จะลดลง

ฟุตปริ้นท์จะมีเส้นวงจากเล็กไปใหญ่ วงในสุดจะมีความเข็มของสัญญาณสูงที่สุด หมายความว่าถ้าใช้จานรับสัญญาณดาวเทียม จานที่ใช้ก็มีขนาดเล็ก สัญญาณจะอ่อนลงตามลำดับในชั้นที่ 2-3และ4ซึ่งขนาดของจานรับสัญญาณ ก็ต้องมีขนาดใหญ่ขึ้น ตามไปด้วย

ระบบ C-Band ค่าความแรงสูงสุดจากวงในจะอยู่ที่ 39 dBW และอ่อนสุดที่ 32 dBW ส่วนระบบ KU – Band จะมีความเข็มของสัญญาณมากกว่า ซึ่งวงในสุดจะมีค่า 52 dBW และวงนอกต่ำสุด 47 dBW ซึ่งค่าความแรงของสัญญาณดาวเทียมในแต่ละพื้นที่ จะเป็นตัวกำหนดความกว้างของหน้าจาน ที่จะมาใช้รับสัญญาณของดาวเทียมดวงนั้นๆ