....มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน.... 1.โครงการกิ่วคอหมา 2.โครงการแม่ทะลบหลวง 3.โครงการพัฒนาชลประทานชุมชนแม่วาง 4.เปรียบเทียบต้นทุนกิจกรรมย่อย (กลุ่มวิเคราะห์ฯ)
ความเป็นมาโครงการ.. เขื่อนกิ่วคอหมาความจุ 170 ล้าน ลบ.ม. มติ ครม.18 พ.ย.46 เขื่อนกิ่วลมมีความจุ 112 ล้าน ลบ.ม.
วัตถุประสงค์ เพื่อการเกษตร อุปโภค บริโภค อุตสาหกรรม ประมง บรรเทาอุทกภัย แหล่งท่องเที่ยว
ลักษณะโครงการ เขื่อนดิน ความจุ 170 ล้าน ลบ.ม. แผนการดำเนินงาน กว้าง 8 ม. ยาว 500 ม. สูง 43.50 ม. ความจุ 170 ล้าน ลบ.ม. แผนการดำเนินงาน 2548-2557 วงเงินงบประมาณ 3,670.05 ล้านบาท
พท.เป้าหมายได้รับน้ำไม่น้อยกว่า 80% เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ เพิ่ม พท.ชป.ใหม่90,200 ไร่ พท.เป้าหมายได้รับน้ำไม่น้อยกว่า 80%
พื้นที่ชลประทานที่เพิ่มขึ้น (ไร่) เพิ่ม พท.ชป. ปีงบประมาณ 2553 2554 2555 2556 2557 รวม พื้นที่ชลประทานที่เพิ่มขึ้น (ไร่) 5,000 12,000 20,000 19,000 30,200 90,200
ประโยชน์จากโครงการ 1.ส่งน้ำให้ พท.ชป.เดิม แหล่งน้ำต้นทุนสำหรับเติมให้เขื่อนกิ่วลม ขยาย พท.การเกษตรหน้าแล้งได้ถึง 30,000 ไร่ 2.ส่งน้ำให้ พท.ชป.เปิดใหม่ 90,200 ไร่ 3.บรรเทาอุทกภัย 4. เพิ่มศักยภาพการผลิตกระแสไฟฟ้า
โครงการกิ่วคอหมา พื้นที่ชลประทานกิ่วลมขยาย (กิ่วลม III ) 70,200 ไร่ พื้นที่ชลประทานกิ่วคอหมา 20,000 ไร่ ในเขต อ.แจ้ห่ม โครงการกิ่วคอหมา เขื่อนกิ่วคอหมา พื้นที่ชลประทานกิ่วลมขยาย (กิ่วลม III ) 70,200 ไร่ เขื่อนกิ่วลม
สภาพน้ำท่วมในเขต อ.เมือง จ.ลำปาง ปี 2548 เนื่องจากเขื่อนกิ่วลมมีความจุน้อยเพียง 18% ของจำนวนน้ำท่าทั้งหมด เมื่อก่อสร้างเขื่อนกิ่วคอหมาจะสามารถบรรเทาน้ำท่วม ในพื้นที่น้ำท่วมท้ายเขื่อนได้มากขึ้น สภาพน้ำท่วมในเขต อ.เมือง จ.ลำปาง ปี 2548
ความก้าวหน้า
โครงการแม่ทะลบหลวง บ้านแม่ทะลบ หมู่ที่ 4 ตำบลแม่ทะลบ อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่
ความเป็นมา 1. ราษฎร ลว.3 ก.พ.2525 เรียน ฯพณฯ รองนายกฯ ผ่าน สส.เชียงใหม่.. 2. ฯพณฯ รองนายกฯ เรียน ผู้ว่าฯ ลว.19 ก.พ.2525 3. สชป.1 มีหนังสือ กส.0323/519 ลว.23 ก.ค.2525 เรียน ผู้ว่าฯ 4. กรมชลประทาน ร่วมกับ สาธารณรัฐเยอรมัน * ศึกษาความเหมาะสมแล้วเสร็จเมื่อปี 2532 5. ว่าจ้างบริษัทดำเนินการสำรวจ/ออกแบบ เมื่อปี 2533-2541
วัตถุประสงค์ เพื่อการเกษตร 9,300 ไร่ อุปโภค บริโภค ประมง แหล่งท่องเที่ยว
ลักษณะโครงการ เขื่อนดิน ความจุ 15.30 ล้าน ลบ.ม. แผนการดำเนินงาน กว้าง 9 ม. ยาว 630 ม. สูง 34.25 ม. ความจุ 15.30 ล้าน ลบ.ม. แผนการดำเนินงาน 2543-2548 วงเงินงบประมาณ 335 ล้านบาท
ช่วยเหลือพื้นที่การเกษตรของราษฎรในเขตโครงการประมาณ 9,300 ไร่ ประโยชน์จากโครงการ ช่วยเหลือพื้นที่การเกษตรของราษฎรในเขตโครงการประมาณ 9,300 ไร่
- อ่างเก็บน้ำ แล้วเสร็จ 100 % - ระบบส่งน้ำแม่ทะลบหลวง ความก้าวหน้า - อ่างเก็บน้ำ แล้วเสร็จ 100 % - ระบบส่งน้ำแม่ทะลบหลวง
โครงการพัฒนาชลประทานชุมชนแม่วาง อำเภอสันป่าตอง อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่
ความเป็นมา 1.โครงการกระจายการผลิตทางการเกษตรในเขตชลประทานราษฏร์ภาคเหนือ 2.รัฐบาลไทยขอความช่วยเหลือไปยังธนาคารโลก เพื่อสนับสนุนด้านการเงินแก่โครงการพัฒนาชลประทานชุมชน 3.ศึกษาความเหมาะสมโครงการชลประทานชุมชน(แม่วาง) แล้วเสร็จเมื่อ มกราคม 2540 - รัฐบาลญี่ปุ่น - ธนาคารโลก
วัตถุประสงค์ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มผู้ใช้น้ำที่มีอยู่เดิม และจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำเพิ่มเติมในลุ่มน้ำของโครงการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำและผลตอบแทนต่อหน่วยของน้ำต้นทุน ปรับปรุงและขยายระบบชลประทานในพื้นที่โครงการ 3. สนับสนุนการเพิ่มรายได้จากการเกษตร โดยมุ่งเน้นด้านการกระจายการผลิตและการปลูกพืชแบบประณีต
องค์ประกอบโครงการ การปรับปรุงระบบชลประทานราษฎร์เดิม การสร้างความเข้มแข็งและการก่อตั้งองค์กรผู้ใช้น้ำ สถาบัน/องค์กรที่ให้การสนับสนุนผู้ใช้น้ำ การให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการและการฝึกอบรม
วงเงินงบประมาณ ลักษณะโครงการ ฝายทดน้ำ/ระบบส่งน้ำ และอาคารประกอบ แผนการดำเนินงาน 2549-2551 วงเงินงบประมาณ 262.165 ล้านบาท
เป้าหมายโครงการ ฝายทดน้ำ ปรับปรุง 2 แห่ง ระบบชลประทาน 11 แห่ง ปรับปรุง ฝายทดน้ำเดิม 2 แห่ง
ส่งน้ำให้พื้นที่ชลประทานของระบบเหมืองฝายเดิม ประโยชน์จากโครงการ ส่งน้ำให้พื้นที่ชลประทานของระบบเหมืองฝายเดิม จำนวน 11 ฝาย ประมาณ 45,500 ไร่
คำรับรองฯ ปี 53 สชป.1 36 เป้าประสงค์ ตามแผนยุทธศาสตร์ สำนักชลประทาน ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ ที่ถ่ายทอดเป้าหมายจากแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน น้ำหนัก (%) เป้าหมาย/เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 มิติ ก : ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ 36 สชป-1. มีปริมาณน้ำเก็บกักและ พื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้น ชป02: จำนวนพื้นที่ชลประทานที่เพิ่มขึ้น (ไร่) * ผลงานร้อย เป้าหมายรวม.....26,020 .(12,990)....ไร่ 10 80 85 90 95 100 ความหมายของตัวชี้วัด หมายถึง พื้นที่การเกษตรที่ทำการก่อสร้างคลองส่งน้ำและอาคารบังคับน้ำต่างๆ เช่น ฝาย ประตูระบายน้ำ เป็นต้น ทำให้สามารถส่งน้ำจากคลองชลประทานได้ถึงแปลงเพาะปลูกของเกษตรกร จากเดิมที่ต้องอาศัยจากน้ำฝนในการเพาะปลูกพืช การก่อสร้างแต่ละโครงการใช้ระยะเวลา 2-5 ปี หรือ เป็นโครงการที่ดำเนินการต่อเนื่องและยังไม่ได้มีการปิดโครงการ ดังนั้น จำนวนที่เพิ่มขึ้นของพื้นที่ชลประทาน ในเขตพื้นที่โครงการขนาดใหญ่ หรือ โครงการขนาดกลาง ที่ยังมีการดำเนินการก่อสร้างอย่างต่อเนื่องในปีงบประมาณ พ.ศ.2553 ซึ่งเป็นพื้นที่การเกษตรที่สามารถใช้ประโยชน์จากการก่อสร้างในส่วนที่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จหรือยังไม่แล้วเสร็จสมบูรณ์แต่มีผลงานก่อสร้างในองค์ประกอบหลักมากกว่า ร้อยละ 80 โดย สำนัก-ชลประทานที่ 1 มีเป้าหมายที่จะดำเนินการก่อสร้างโครงการชลประทานขนาดกลางต่อเนื่องและสิ้นสุดการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ.2553 รวม 2 แห่ง คือ 1.โครงการก่อสร้างระบบส่งน้ำแม่ทะลบหลวง จ.เชียงใหม่ เป้าหมาย 9,300 ไร่ 2. โครงการพัฒนาชลประทานชุมชน (แม่วาง) จ.เชียงใหม่ เป้าหมาย 3,690 ไร่ เป้าหมาย ปี2553 รวมทั้งสิ้น 12,990 ไร่ (หมายเหตุ ขอกำหนดเป้าหมายพื้นที่ ให้สอดคล้องกับเป้าหมายของกรมฯ)
ความก้าวหน้าสชป.1 รอบ 4 เดือน
เปรียบเทียบต้นทุนกิจกรรมย่อย (กน.ผง.) ปี 51 และ ปี 52 คชจ.กลุ่มงานวิเคราะห์ฯ แยกรายหมวด ปี งปม. 52 รวม 8,248,671.85 บาท ไปดูกัน