( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์) ทฤษฎีพหุปัญญา ( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์) เบญจา วงษา
การคำนวณ การรับรู้ ภาษา อารมณ์ การใช้เหตุผล ความรู้สึก ซีกซ้าย ซีกขวา การจินตนา การใช้ตัวเลข ดนตรี การใช้ตรรกะ ความคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์
เชาว์ปัญญา “ Intelligence” ความสามารถในการแก้ปัญหาในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ หรือการสร้างสรรค์ผลงานต่าง ๆ ซึ่งจะมีความสัมพันธ์กับบริบททางวัฒนธรรมในแต่ละแห่ง รวมทั้งความสามารถในการตั้งปัญหาเพื่อหาคำตอบและการเพิ่มพูนความรู้
ความเชื่อพื้นฐานของ Gardner บุคคลไม่ใช่มีความสามารถเฉพาะภาษาและคณิตศาสตร์เท่านั้น แต่มีหลากหลายถึง 8 ด้าน แต่ละคนมีความสามารถแตกต่างกัน ความสามารถด้านต่าง ๆ ไม่เท่ากัน ความสามารถที่ผสมผสานกันทำให้ทำให้เกิดเอกลักษณ์เฉพาะตน เชาว์ปัญญาสามารถเปลี่ยนแปลงได้หากได้รับการส่งเสริม
การแสดงออกของเชาว์ปัญญา ความสามารถในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานอย่างมีประสิทธิภาพ สัมพันธ์กับบริบททางวัฒนธรรม ความสามารถในการแสวงหาหรือตั้งปัญหาเพื่อหาคำตอบในการเพิ่มพูนความรู้
ทฤษฎีพหุปัญญา Multiple Intelligences เชาวน์ปัญญาด้านภาษา (Linguistic intelligence) ความสามารถในการอ่านเขียนพูดอภิปราย การสื่อสารกับคนอื่น แสดงออกทางความคิด การแต่งเรื่อง เล่าเรื่อง
คิดโดยใช้สัญลักษณ์ ชอบวิเคราะห์ แยกแยะสิ่งต่าง ๆ คิดและทำตามเหตุผล เชาวน์ปัญญาด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ (Logical- mathematical intelligence) ใช้เหตุผลเชิงตรรกะ คิดโดยใช้สัญลักษณ์ ชอบวิเคราะห์ แยกแยะสิ่งต่าง ๆ คิดและทำตามเหตุผล เข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรมง่ายทำคณิตศาสตร์ได้ดี
เชาวน์ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์ (Spatial intelligence) ควบคุมโดยสมองซีกซ้าย มีความสามารถ ทางศิลปะ วาดภาพ สร้างภาพ คิดเป็นภาพ เห็นรายละเอียด การใช้สีสร้างสรรค์งาน และมองเห็นวิธีแก้ปัญหาในมโนภาพ
เชาวน์ปัญญาด้านการเคลื่อนไหวร่างกายและกล้ามเนื้อ (Bodily-Kinesthetic intelligence) สมองซีกซ้ายควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายด้านขวา และสมองซีกขวาควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกานด้านซ้าย สังเกตนักเรียนได้จากการเล่นกีฬา เล่นเกมต่าง ๆ การใช้ภาษาท่าทาง การแสดง การเต้นรำ ฯลฯ
แสดงออกทางความสามารถด้านจังหวะ การร้องเพลง การฟังเพลงและดนตรี เชาวน์ปัญญาด้านดนตรี (Musical intelligence) แสดงออกทางความสามารถด้านจังหวะ การร้องเพลง การฟังเพลงและดนตรี การแต่งเพลง การเต้น ไวต่อการรับรู้เสียงและจังหวะ
เชาวน์ปัญญาด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่น(Interpersonal intelligence) การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การทำงานร่วมกัน การแก้ปัญหาความขัดแย้ง ไวต่อความรู้สึก ชอบความเป็นมิตร ช่วยเหลือให้คำปรึกษา
เชาวน์ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง (Intrapersonal intelligence) ชอบคิด ชอบไตร่ตรอง มองตนเอง มั่นคงในความเชื่อ ต้องการเวลาในการไตร่ตรอง คิดคนเดียว ชอบความเงียบสงบ มีลักษณะที่ใช้สติปัญญาที่สัมพันธ์กับ ด้านอื่นอย่างน้อย 2 ด้านขึ้นไป
เชาวน์ปัญญาด้านการรู้จักธรรมชาติ (Natural intelligence) มีความสามารถในการสังเกตสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ จำแนก แยกแยะจัดหมวดหมู่สิ่งรอบตัวรักธรรมชาติ เข้าใจธรรมชาติ ตระหนักความสำคัญของสิ่งแวดล้อม สนใจและชอบเลี้ยงสัตว์
การนำทฤษฎีพหุปัญญามาใช้ 1. จัดการศึกษาที่หลากหลายจะพัฒนาเชาว์ปัญญารอบด้าน เพราะคนเก่งไม่เหมือนกัน 2. เสริมเชาว์ปัญญาเฉพาะด้าน 3. สอนให้ค้นหาความสามารถของตนเองและเคารพในความสามารถของผู้อื่น 4. ประเมินหลากหลายวิธีการ หรือใช้อุปกรณ์ที่ซับซ้อน ให้เขาใช้ปัญญาหลายๆด้าน
การประยุกต์สู่การเรียนการสอน 5. ใช้ความสามารถที่ถนัดเพื่อเป็นสื่อไปยัง ความสามารถ ด้านอื่น เช่น ใช้เพลงเพื่อเป็นสื่อ ในการสอนคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนอ่อนคณิตฯ 6. การประเมินผลความสามารถอย่างหลากหลาย วิธี และตามสภาพจริง