“ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาคกับการรวบรวม จัดเก็บและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะทางด้านอาเซียนศึกษา” รศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวอย่างที่ดีของโครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล
Advertisements

ประสบการณ์การเขียนหนังสือ-ตำรา
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
แผนปฏิบัติตามกรอบอำนาจหน้าที่ของ คณะอนุกรรมาธิการความสัมพันธ์ เศรษฐกิจ การศึกษา มิตรภาพ ไทย-จีน-อาเซียน ตามประกาศกรรมาธิการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร ที่
จุดเน้น สพฐ. ปี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
วิจัยสถาบัน...เรื่องไม่ง่ายแต่ทายท้า
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รอบรู้อาเซียน.
การบริหารงานของห้องสมุด
“ จดหมายเหตุ CHILL CHILL ”
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
การดำเนินงานด้านการบริการ
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับขอบเขตและประเภทของแหล่งสารสนเทศ
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
ศูนย์สารนิเทศอีสานสิรินธร
การก่อตั้งประชาคมอาเซียน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ 18 เมษายน 2555
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ขั้นตอนการนำ KM ไปใช้ด้านการเรียนการสอน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
แผนพัฒนางาน ฝ่ายประชาสัมพันธ์ เพื่อสนับสนุนงานวิชาการในการรองรับ AEC
การติดตามผลการดำเนินงาน UC/TDC/Reference Database
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
AEC WATCH จับตาเปิดเสรีภาคบริการ สาขาการศึกษา
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
พลังชุมชน สู่สุขภาพดีในยุคประชาคมอาเซียน : บทบาทสถานศึกษา
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
ฐานข้อมูล Data Base.
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
งานวิเทศสัมพันธ์ ผศ.ดร.นิศากร ประคองชาติ
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
Welcome.
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาคกับการรวบรวม จัดเก็บและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะทางด้านอาเซียนศึกษา” รศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

อาเซียนศึกษาทำอะไร ศึกษา วิจัยและนำเสนอความรู้ ต่างๆเกี่ยวกับภูมิภาคอาเซียน โดยดูจาก องค์ประกอบของรัฐชาติ (การเมือง)

2. และเหนือรัฐชาติ คือทางภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์ วัฒนธรรม ศาสนา เศรษฐกิจการผลิต

แบบแรก ในกรอบทางการเมืองและสถาบัน ห้องสมุดรวบรวมเอกสาร ชั้นต้น และชั้นรอง ของสถาบันทาง การเมืองที่เป็นหลักในการ กำหนดนโยบายและการปฏิบัติ นโยบาย เช่น นโยบายรัฐบาล พรรค การเมือง สภาอุตสาหกรรม องค์กรเกษตรกรรม องค์พัฒนา เอกชนทั้งหลาย กรอบเวลาเอาจากปัจจุบัน ค่อยๆย้อนหลังไปสู่จุดเริ่มแรก

รายงานผลการปฏิบัติงาน รัฐ กระทรวง จังหวัด การนำนโยบายไปปฏิบัติ ดูการ ทำงานของกระทรวง ไปถึง หน่วยงานหลักๆในประเด็น นโยบายนั้นๆ ผลของการ ปฏิบัติงาน เอกสารได้แก่ รายงานประจำปีของกระทรวง กรมกองต่างๆ สถิติตัวเลขต่างๆ

แบบที่สอง ไม่ผูกติดกับหน่วยทางการเมืองที่เป็นสถาบัน หัวข้อและเนื้อเรื่องอาจกระจัดกระจาย และกรอบเวลาอาจยาวมาก ห้องสมุด อาจกำหนดหัวข้อและกรอบเวลาจาก ความเหมาะสมของตนเอง เช่น ห้องสมุดในภาคใต้อาจมุ่งไปทาง ภูมิศาสตร์ของภาคพื้นทะเล มาเลย์เซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และบรูไน ท้องถิ่นมีความสนใจและศักยภาพใน ประเด็นอะไรไหม ในมหาวิทยาลัย คณะ ภาควิชาไปถึงคณาจารย์ว่ามี ความสนใจ ความถนัด ความสามารถ ในเรื่องอะไร ก็อาจเริ่มจากเรื่อง เหล่านั้น แล้วค่อยไปขยายต่อยอดไป ยังเรื่องอื่นๆต่อไป

ประสบการณ์ในการใช้ห้องสมุดเอเชียสำหรับการค้นคว้าและวิจัย อ่านหนังสือพิมพ์ เอกสาร หนังสือใน สมัยก่อน เป็นการค้นจากเอกสาร ชั้นต้น เป็นฐานของห้องสมุดวิจัยที่ ต้องมี การรวบรวมเอกสาร ห้องสมุด อาศัยการแนะนำและช่วยเก็บจาก นักวิชาการ อาจารย์ในคณะและ ภาควิชาที่ไปลงพื้นที่ สามารถนำมา บอกได้ว่าอะไรอยู่ที่ไหน หามาได้ อย่างไร

ประการต่อมาคือการค้นและอ่าน จากหลักฐานชั้นรองทั้งหลาย คือ หนังสือ บันทึกความทรงจำ แปล ไป ถึงวิทยานิพนธ์ ที่มีคนศึกษาเรื่อง เหล่านั้นไว้ก่อนแล้ว ให้ได้มากและ ครบถ้วนที่สุด เป็นงานที่ใช้เวลา อุตสาหะ แต่จะเกิดผลในที่สุด

การเก็บสะสมข้อมูล ประวัติจอห์น เอโคล์ และเดวิด วัยอาจ กับการทำห้องสมุดเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ที่คอร์แนล

การทำให้แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นเป็นแหล่งเรียนรู้ระดับชาติ จัดกิจกรรมการวิจัย ค้นคว้า เชิญหรือให้ทุนแก่นักวิจัยที่ต่างๆมานั่งทำงานใน ท้องที่ เช่น ห้องสมุดนิวยอร์ก ห้องสมุดคองเกรส ห้องสมุดแห่งชาติแคนเบอ รา เป็นต้น

กิจกรรม: วิจัย ศึกษา ค้นคว้า อภิปราย ติดต่อให้นักศึกษา นักวิจัยจาก ภูมิภาคมาทำงานเกี่ยวกับ เอกสารหรือชุดเอกสารของ ประเทศนั้นๆ เช่นเรื่องอินโดนีเซีย อิสลาม ให้นส.จากอินโดหรือ มาเลย์เซียมาทำเป็นต้น Collection Archives Manuscripts Papers………….

บุคลากร: การส่งเสริมบุคลากรและ มาตรฐานการดำเนินงานของ สมาชิก ผ่านการทำงานและ เรียนรู้ร่วมกับนักวิจัยภายนอก อีก ด้านคือ แลกเปลี่ยนกับห้องสมุด อื่นๆ