การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ (Spec.) และ การกำหนดขอบเขตของงาน (TOR)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Advertisements

หลักการบันทึกข้อความ
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
การจัดการผลิตอย่างเป็นระบบ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
Product and Price ครั้งที่ 12.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
แนวทางการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ ของครุภัณฑ์และรายการก่อสร้าง
การจัดซื้อ – จัดจ้าง และสรรหาผู้รับจ้าง
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
สรุปข้อดีข้อเสีย Proprietary VS Off-the-shelf Software
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
แผนปฏิบัติการจัดซื้อ/จ้าง ที่ผู้บริหารควรรู้ !!
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
Chapter 2 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
การเขียนโครงการ.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
งานพัสดุ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
ขับเคลื่อนนวัตกรรม ด้วยการเข้าใจตลาดและผู้ใช้
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
สัมมนาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Computer Application in Customer Relationship Management
การวางแผนกำลังการผลิต
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ฉลากและการโฆษณาเครื่องสำอาง
Functional Level Strategy
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
Uncertainty of Measurement
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
สื่อโฆษณาเพื่อส่งเสริมการขาย
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
ความหมายของการบริการ
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
วิธีการคิดวิเคราะห์.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
การเป็นเจ้าของธุรกิจ  ไม่เซ๊กซี่ เหมือนที่คิด  คนที่จะเป็นได้ต้อง มีความหลงไหลในโครงการที่ทำ กระหาย ที่จะเป็นเจ้าของธุรกิจ ชอบคิดใหม่ ทำใหม่ มีปัญญา.
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
การเขียนโครงการ.
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
การประมูลจัดซื้อจัดจ้างแบบ on-line E-Auction
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ (Spec.) และ การกำหนดขอบเขตของงาน (TOR)

การจัดหา (จัดซื้อ/จัดจ้าง) ใน 2 ความหมาย Procurement คือ การจัดซื้ออย่างมีกลยุทธ์/แผน Purchasing คือ การจัดซื้อตามคำขอ

วัตถุประสงค์หลักของการจัดหา ซื้อของตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน ส่งมอบของได้ทันเวลาใช้งาน ราคาที่เหมาะสม (ต้นทุนมีประสิทธิภาพ)

การกำหนดความต้องการในการจัดหา อะไร ? (What exactly) เท่าไร ? (How many) เมื่อไร ? (When) ส่งมอบที่ไหน ? (Where to deliver) ตรวจสอบคุณภาพอย่างไร (How to quality test) ข้อกำหนดอื่น ๆ (ถ้ามี)

ชื่อทางการค้า/ยี่ห้อ (Brand) ตามตัวอย่าง (Sample) องค์ประกอบการ กำหนด Spec. ในหัวข้อ “คุณภาพ” คุณสมบัติทางเทคนิค (Technical Spec.) การทดสอบการใช้งาน Testing ส่วนผสม, ส่วนประกอบ (Composition Spec.) คุณสมบัติการใช้งาน (Functional Spec.)

จะกำหนดหัวข้อไหน เมื่อไร จะกำหนดหัวข้อไหน เมื่อไร 1. Brand 1. เมื่อไม่มีการแข่งขัน, ต้องการกลุ่ม Brand 2. ตัวอย่าง 2. เมื่อไม่อาจบรรยายออกมาเป็นตัวหนังสือได้ ต้องใช้การดูจากของจริง 3. เทคนิค 3. เมื่อเราสามารถออกแบบความต้องการได้และต้องการซ่อมแซมได้เอง มีความต้องการซับซ้อน ต้องการป้องกันความเสี่ยงจากการออกแบบสินค้า

จะกำหนดหัวข้อไหน? เมื่อไร? 4. ส่วนผสม/ส่วนประกอบ 4. เป็นวัตถุดิบ สารเคมี อาหาร หรือของที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม และมีผลต่อการทำงาน 5. คุณสมบัติการใช้งาน 5. เมื่อผู้ขายมีความสามารถมาก มีนวตกรรมใหม่ที่จำเป็นและเทคโนโลยีเปลี่ยนเร็ว 6. การทดสอบ 6. เฉพาะที่จำเป็น

ข้อดี/ข้อเสีย การกำหนดหัวข้อ 1. Brand ชัดเจน ตามต้องการ ลดการแข่งขัน ผู้ขายมีอำนาจเหนือกว่า ราคาแพง 2. ตัวอย่าง ได้ของตามต้องการ แน่ใจว่าผู้ขายผลิตได้ ผู้ขายมีค่าใช้จ่าย/คู่แข่ง น้อย/ราคาแพง การควบคุมให้ผู้ขายผลิตและส่งของตรงตามตัวอย่าง

ข้อดี/ข้อเสีย การกำหนดหัวข้อ 3. เทคนิค ชัดเจน สามารถตรวจสอบพิสูจน์ได้ กำหนดยาก (เชี่ยวชาญ) เสี่ยงด้านประสิทธิภาพไม่เป็นตามต้องการ 4. ส่วนผสม/ส่วนประกอบ แน่นอน พิสูจน์ได้ ตรวจสอบยาก (ทดสอบพิเศษ)

ข้อดี/ข้อเสีย การกำหนดหัวข้อ 5. คุณสมบัติทางการใช้งาน เช่น การผลิต, กระบวนการผลิต, ภาวะแวดล้อม, การต่อเชื่อมระบบ, การบำรุงรักษา ผู้ขายชำนาญจริง ผู้ซื้อไม่เสี่ยง ผู้ขายคิดราคายาก(ผิดได้) ตั้งสูงเกิน (กลัวเสี่ยง) การเปรียบเทียบจะยืดยาวมีรายละเอียดมาก 6. ทดสอบ ชัดเจน พิสูจน์ได้ ยุ่งยาก ใช้เวลา ราคาแพง ความเห็นไม่ตรงกัน

ความท้าทายในการกำหนด Spec. สูงเกินจำเป็น (Over specification) ? ต่ำเกินมาตรฐานอันควร (Under Spec.) ? บ่งชี้ได้ไหมว่า Spec. ตรงไหนที่จะเอื้ออำนวย ให้เกิดการแข่งขันที่เป็นธรรม โปร่งใส

ขอบคุณค่ะ