วัตถุประสงค์ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์ 1. เพื่อเข้าใจการทำงานของระบบเศรษฐกิจ 2. อธิบายปรากฎการณ์หรือปัญหาทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น 3. นำเสนอนโยบายในการแก้ปัญหา 4. นำเสนอนโยบายในการพัฒนาเศรษฐกิจ
การเรียนรู้การทำงานของระบบเศรษฐกิจ Macroeconomics Microeconomics theory of output consumer theory theory of employment theory of the firm theory of interest rate market theory or price theory
ความแตกต่างระหว่างบริหารธุรกิจและบริหารประเทศ นายกรัฐมนตรี CEO ระบบเศรษฐกิจ บริษัท เป้าหมาย ? เป้าหมาย ? กำไรสูงสุด ส่วนแบ่งตลาดสูงสุด
เป้าหมายในการบริหารประเทศ 1. efficiency : allocation of resources 2. growth 3. stability 4. employment 5. equity 6. quality of life/environment
เป้าหมายเศรษฐกิจมหภาค รัฐบาล ดร.ทักษิณ ที่มา : หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ 19 กรกฎาคม 2544
www.eco.ru.ac.th/tawin
ความสัมพันธ์ของหน่วยทางเศรษฐกิจ ต่างประเทศ C Y ภาคครัวเรือน X M S C ตลาดเงิน ตลาดทุน ตลาดปัจจัยการผลิต ตลาดสินค้า W+R+I+P I S I ภาคการผลิต G รัฐบาล tax
อธิบายปรากฎการณ์หรือปัญหาเศรษฐกิจ economic indicators inflation GDP current account
Thailand’s Growth Rates of Real GDP 2513 - 2545 ชาติชาย ชวน ทักษิณ oil crisis oil crisis/financial cirsis
THAILAND
Demand Management V.S. Supply Management Consumption Investment Government Spending Net Export GDP Labour Capital Natural Resources Technology Infrastructures Supply Management
ดุลการค้า ดุลบัญชีเคลื่อนย้าย และดุลการชำระเงิน
เสนอนโยบายในการแก้ปัญหา
นโยบาย, เครื่องมือ และวัตถุประสงค์ Policy Type Policy Instruments Objectives Fiscal Policy Monetary Policy Exchange-rate Policy Overall Level of Economic Activities Macroeconomic Policy Competitive Policy Industrial Policy Labour Market Policy Trade Policy Allocation of Resources Across Activities Microeconomic Policy Income Redistribution Education Health Distribution of Resources Across Regions/Individuals Social Policy
ตัวอย่าง นโยบายในการแก้ปัญหาเงินเฟ้อ อัตราแลกเปลี่ยน นโยบายการคลัง นโยบายการเงิน นโยบายอื่นๆ ปัญหาเงินเฟ้อ
ตัวอย่างการแก้ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง นโยบายอัตราแลกเปลี่ยน นโยบายธนาคาร Policy Correction Financial Crisis Origins of Crisis Economic Factors Non Economic Factors
เป้าหมายการจัดการระบบเศรษฐกิจ
วัตถุประสงค์ในการแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ 1. การจัดสรรทรัพยากรใหม่ (Reallocation of Resources) 2. รักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ (Economic Stability) 3. สนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจ (Economic Growth) 4. สนับสนุนให้มีการจ้างงานเต็มที่ (Full Employment) 5. สร้างความเท่าเทียมในเรื่องรายได้แก่ประชาชน (Equal Distribution of Income ) 6. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
นโยบาย, เครื่องมือ และวัตถุประสงค์ Policy Type Policy Instruments Objectives Fiscal Policy Monetary Policy Exchange-rate Policy Overall Level of Economic Activities Macroeconomic Policy Competitive Policy Industrial Policy Labour Market Policy Trade Policy Allocation of Resources Across Activities Microeconomic Policy Income Redistribution Education Health Distribution of Resources Across Regions/Individuals Social Policy
Efficiency การจัดสรรทรัพยากร (Allocation of Resources) กลไกราคา (price mechanism) กลไกตลาด (market mechanism) กลไกของรัฐ (state mechanism) Central planning Efficiency
กรณีที่กลไกตลาดจัดสรรไม่มีประสิทธิภาพ (Market Failures) 1. Monopoly 2. Public Goods 3. Externalities 4. Natural monopolies
โครงสร้างตลาด (Market Structures) Monopoly Perfect Competition Monopolistic Competition Oligopoly
ข้อเสียของการผูกขาด 1. ราคาสูงเกินไป และปริมาณผลิตน้อยเกินไป 1. ราคาสูงเกินไป และปริมาณผลิตน้อยเกินไป 2. มีการจ้างงานน้อยเกินไป 3. แรงกดดันให้เกิดภาวะเงินเฟ้อ 4. สวัสดิการ (welfare) ของสังคมลดลง
พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 หมวด 3: การป้องกันการผูกขาด มาตรา 25 - 33 www.dit.go.th
สินค้าสาธารณะ (Public Goods) Exclusion Non exclusion private goods semi public goods Rival consumption semi public goods public goods Nonrival consumption
Externalities positive externalities negative externalities social cost social benefit
เป้าหมายเรื่องเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
ความหมายของเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (economic stability) ความสมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทานในแต่ละตลาด ระดับราคาไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง
เสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ (Economic Stability) เสถียรภาพภายใน (Internal stability) เสถียรภาพภายนอก (external stability) เสถียรภาพด้านราคาสินค้าและบริการ เสถียรภาพอัตราแลกเปลี่ยน ดัชนีราคาผู้บริโภค (consumer price index)
เสถียรภาพภายนอก ความสมดุลในตลาด ปริวรรตเงินตรา current account อัตราแลกเปลี่ยน
เสถียรภาพภายใน ความสมดุลในตลาดสินค้า ระดับราคาสินค้า inflation and deflation
aggregate demand and aggregate supply เสถียรภาพด้านผลผลิต เสถียรภาพด้านราคา aggregate demand and aggregate supply
เสถียรภาพภายในและภายนอก นอกจากนั้นเสถียรภาพเศรษฐกิจด้านต่างประเทศอยู่ในเกณฑ์มั่นคง โดยพิจารณาจากหนี้ต่างประเทศลดลงต่อเนื่อง และเงินสำรองระหว่าง ประเทศอยู่ในระดับสูง ในขณะที่อัตราเงินเฟ้อที่วัดจากดัชนีราคาทั่วไป และดัชนีราคาสินค้าพื้นฐานอยู่ในระดับต่ำ "คณะกรรมการ เห็นว่าจากอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ระดับต่ำ นโยบายการเงินยังจำเป็นต้อง อยู่ในทิศทางที่เอื้อให้เศรษฐกิจไทยสามารถฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่อง และการลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ผ่านมาเพียงพอ ในการส่ง สัญญาณต่อตลาด ให้ทราบถึงแนวทางดังกล่าว โดยอัตราดอกเบี้ย ในตลาดได้ปรับลดลง สอดคล้องกับทิศทางของนโยบาย และเป็นไปตาม ภาวะสภาพคล่อง และความจำเป็นของแต่ละธนาคาร" ดร.บัณฑิต กล่าว ที่มา กรุงเทพธูรกิจ 4 มิถุนายน 2545
Thailand’s Growth Rates of Real GDP 2513 - 2544 aggregate demand potential GDP growth actual GDP growth inflationary gap and deflationary gap
สาเหตุเงินเฟ้อ: Demand Pull การเพิ่มปริมาณเงิน การเพิ่มขึ้นของอุปสงค์รวม อุปทานปรับตัวช้า อุปสงค์ส่วนเกิน ระดับราคาสินค้าเพิ่มขึ้น อัตราแลกเปลี่ยน เสื่อมค่า การคาดคะเนการเพิ่มขึ้น ของราคาและค่าจ้าง การเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าเข้า การเพิ่มในกำไรส่วนเกิน การเพิ่มใน ค่าจ้าง ราคาวัตถุดิบเพิ่มสูงขึ้น
เป้าหมายการเติบโต (Economic Growth)
GDP เทียบกับปีปัจจุบัน และ เทียบกับปีฐาน (ปี 2531)
4,866 = GDP 2543 2,862 Exchange Rate Policy รายจ่ายรวมของประเทศ (2543) = 7,728 GDP 2543 C 2,752 Fiscal Policy Monetary Policy 4,866 I 725 961 G IMPORT 3,290 X 2,862 = Exchange Rate Policy
Thailand’s Growth Rates of Real GDP 2513 - 2548 ชาติชาย ชวน ทักษิณ oil crisis oil crisis/financial cirsis
Demand Management V.S. Supply Management Consumption Investment Government Spending Net Export GDP Labour Capital Natural Resources Technolocy Infrastructures Supply Management
เป้าหมายการกระจายรายได้
Economic Indicators for Income Distribution 1. Per Capita Income 2. Lorenz Curve 3. Gini Coefficient
ASEAN Countries’ Per Capita Income Countries Per Capital Income ($) Brunie 29,610 Singapore 24,400 Malaysia 3,400 Thailand 1,960 Philippines 1,020 Indonesia 580 Vietnam 370
World Bank’s Classification of Countries Classifications GNI Per Capital (US$) Low Income less than 755 Lower Middle Income 756 - 2,995 Upper Middle Income 2,996 - 9,265 High Income more than 9,266 source: World Bank, World Development Database http://www.worldbank.org/data/databytopic/GNNPC.pdf
การขัดแย้งระหว้างเป้าหมาย efficiency and equity stability and income distribution stability and growth growth and quality of life growth and environment
trade off between efficiency and equity 10 AIS privatization 5 X ราชการ รัฐวิสาหกิจ equity Y 10 5