เทคนิคการวิจัยภาคสนาม อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ
อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ สนาม(Field) คืออะไร Field Research, Field Visit, Site Visit คือ ปรากฏการณ์ที่เป็นจริงโดยธรรมชาติ ซึ่งอาจเป็นห้องเรียน โรงเรียน หน่วยงาน หมู่บ้าน เป็นต้น อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ
อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ การเลือกสนาม : เงื่อนไข นักวิจัยสามารถเข้าไปในสนามได้หรือไม่ บทบาทของนักวิจัยเป็นแบบใด อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ
อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ บทบาทนั้นช่วยให้นักวิจัยได้ข้อมูลที่ต้องการมากน้อยเพียงใด อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ
ฉากของสนามวิจัย : เห็นหรือไม่เห็นขึ้นอยู่กับ ตำแหน่งที่ผู้วิจัยยืนอยู่ ความรู้ของนักวิจัย ประสบการณ์ของนักวิจัย อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ
วิธีการเข้าสู่สนาม : 2 ลักษณะ แบบเปิดเผย (Overt) : แสดงสถานภาพนักวิจัย แบบปกปิด (Covert) : สวมบทบาทเป็นคนอื่น อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ
วิธีการเข้าสู่สนาม : แนวทางสู่ความสำเร็จ สร้างสัมพันธภาพ ใช้เวลา อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ
อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ ตั้งใจ อดทน อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ
อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ บทบาทของนักวิจัย แบบคนนอก (Etic) แบบคนใน (Emic) อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ
สังเกตแบบคนนอก (Etic) นักวิจัยเปิดเผยตัวเอง เข้าสนามเพื่อสังเกตโดยตรง เฝ้าสังเกตอยู่ห่างๆ ไม่เข้าร่วมกิจกรรม มองเห็นภาพในฉากต่างๆได้ชัดเจน เมื่อเคยชินกับฉากจะมองไม่เห็นความแปลกใหม่ อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ
อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ ความลึกซึ้งขึ้นของข้อมูลต้องใช้เวลา จุดอ่อน ขึ้นอยู่กับคนในมองนักวิจัยหรืองานวิจัยอย่างไร อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ
อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ สังเกตแบบคนใน (Emic) สวมใส่ตามบทบาทที่มีอยู่แล้วในฉาก 3 ลักษณะ 1. สมาชิกแบบรอบนอก (Peripheral membership) อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ
อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ 2. สมาชิกร่วมกิจกรรม (Active membership) อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ
อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ 3. สมาชิกแบบเต็มตัว (Complete membership) อิศรัฏฐ์ รินไธสง ม.ทักษิณ