วิวัฒนาการ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
Advertisements

หน้าที่ของผู้บริหาร.
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
กระบวนการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย
มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ความหมายของเครือข่าย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
เศรษฐกิจพอเพียง.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
ภูมิปัญญาไทย.
วิธีการดำเนินงานธุรกิจเครือข่าย
โครงสร้างสังคมไทย โครงสร้างสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มีบรรทัดฐานของสังคมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้คนมาอยู่รวมกันเป็นสังคม อย่างสันติสุข.
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
มานุษยวิทยาศึกษาคืออะไร
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ทฤษฎีและแนวคิดการพัฒนา (Development Theory and Concepts)
รัฐศาสตร์ในยุคโลกาภิวัตน์
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
The General Systems Theory
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
ความเข้าใจมนุษย์ในสังคม
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
ความเป็นมาของชาติไทย : พ.อ.ดร.ศรศักร ชูสวัสดิ์ ความเป็นมาของชาติไทย : พ.อ.ดร.ศรศักร ชูสวัสดิ์ องค์ประกอบของชาติ มี 1.ดินแดนที่แน่นอน.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูพัทธนันท์
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ครูจงกล กลางชล 1. สรุปแนวคิดเกี่ยวกับ พัฒนาการ ด้าน ความสัมพันธ์ ระหว่าง ประเทศของไทย โดยวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ ได้ 2.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
Change Management.
ครูจงกล กลางชล 1. 2 สรุปแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการ ด้านการเมือง – การปกครองโดยใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
การแทรกแซง การที่รัฐใดรัฐหนึ่งเข้าไปเกี่ยวข้อง โดยบังคับรัฐอื่นให้กระทำในสิ่งที่ ตนต้องการ การแทรกแซงย่อม เป็นการคุกคามอำนาจอธิปไตย ของรัฐอื่น ซึ่งเป็นการละเมิด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิวัฒนาการ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วิวัฒนาการ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รายวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเบื้องต้น

วิวัฒนาการความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ ยุคโบราญ การรวมกันเป็นสังคมในบริเวณริมแม่น้ำ เพื่อการดำรงชีพและคมนาคม แนวคิดเรื่องรัฐ สมัยกรีก 200-300 ปี ก่อนคริสต์ศักราช การใช้ผู้ถือสาส์นระหว่างรัฐ

ยุคสมัยของความสัมพันธ์ สมัยโรมัน ระยะแรก เน้นกฎหมายระหว่างประเทศ 350 ปี ก่อนคริสต์ศักราช

สมัยฟิวดัล กษัตริย์มีความขัดแย่งเรื่องอำนาจกับผู้นำทางศาสนจักร

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา การทำสงครามทางศาสนา

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา สนธิสัญญา Westphalia ผลสงครามทำให้ Holy Roman Empire สนธิสัญญาเวสฟาเลีย ความสัมพันธ์ยุคล่าอาณานิคม

ความสัมพันธ์ช่วงสงครามโลก สงครามโลกครั้งที่ 1 สงครามโลกครั้งที่ 2

แสวงหาหนทางการป้องกันการเกิดสงคราม สัญญา Kellog Briand Pact Nato สงครามเย็น

การศึกษาความสัมพันธืระหว่างประเทศ ระยะก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นการศึกษาหาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของความสัมพันธ์ ระยะหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ถึง 2 มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ที่เกิดขึ้นใหม่ยังมิได้ทำการศึกษาถึงปัญหาทางการเมือง ที่เป็นการก่อให้เกิดสงครามหรือสันติภาพ ระยะศึกษาถึงสถาบันระหว่างประเทศ เช่น ทูต กงสุล กฎหมายระหว่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ และดุลยอำนาจระหว่างประเทศ ระยะหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ถึงปัจจุบัน ศึกษาการพัฒนาการมาเป็นลำดับ เริ่มตั้งแต่การศึกษา กำลังและอิทธิพลๆ ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรม การปรับปรุงข้อคัดแย้ง การได้มาซึ่งอำนาจและผลประโยชน์ของชาติ ตลอดจนสภาพแวดล้อมทางการเมืองที่มีอิทธิพลต่อกฎหมายระหว่างประเทศ

แนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ลูเดอวิง วอน เบอร์ทาเลนฟาย (Ludeving Von Bertalanfy) ผู้คิดเรื่อง Isomophism เดวิด อีสตัน (David Easton) Conversion Process Outputs feedbac

แนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ทฤษฏีระบบของแคปแลน (Caplan) ระบบโลก ระบบภูมิภาค จะมีอิทธิพลต่อระบบภายในของแต่ละประเทศไม่มากก็น้อย ทฤษฏีความเกี่ยวพันของรอสนาว (Rosnau) ปัจจัยที่เข้าไปมีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายต่างประเทศของแต่ละประเทศ ปัจจัยภายในคือ ผู้นำ กลุ่มผลประโยชน์ พรรคการเมือง มติมหาชน สื่อมวลชน สถาบันทางการเมืองและเศรษฐกิจ มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อม

ทฤษฏีปัจจัยนำเข้าและปัจจัยผลิตผลของโมเด็ลสกี มีปัจจัย 2 ชนิดที่เกี่ยวข้องคือ ปัจจัยนำเข้าไปสู่ตัวกำหนดนโยบายต่างประเทศและปัจจัยผลิตผลที่ผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศได้แสดงออกไปสู่โลกภายนอกโดยมีองค์ประกอบ ผู้กำหนดนโนบายต่างประเทศ พลังอำนาจและพลังแสดงอำนาจของนโยบาย จุดมุ่งหมายแห่งรัฐ หลักการของนโยบายต่างประเทศ สภาพแวดล้อมของนโยบายต่างประเทศ

ทฤษฎีลัทธิที่น่าสนใจ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ทธิสัจนิยม (Realism) หรือ อำนาจการเมือง (Power Politic) ลัทธิสัจนิยมใหม่ (Neo-Realism) จากงานเขียนของ K.N.Waltz เรื่อง ทฤษฏีการเมืองระหว่างประเทศทั้งในระดับโครงสร้างและระดับหน่วยประกอบว่ามีทั้งที่แตกต่างกันและเชื่อมโยงกัน พหุนิยม (Pluralism) แนวคิดที่ต่อต้านเกี่ยวกับอำนาจรวมศูนย์อยู่ที่รัฐ การแบ่งปันอำนาจระหว่างพรรคต่าง ๆ สหพันธรัฐนิยม (Federalism) มี 2 ความหมาย การปกครองมีการแบ่งอำนาจระหว่างรัฐบาลกลางกับรัฐที่เป็นสมาชิกของสหพันธ์รัฐ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหนทางที่จะนำไปสู่การรวมเป็นอันเหนึ่งอันเดียวกันระหว่างรัฐอธิปไตยต่าง ๆ

ทฤษฎีลัทธิที่น่าสนใจ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ทฤษฏีระบอบ (Regime theory) ลัทธิทุนนิยม (Capitalism) จากแนวคิดของอาดัมสมิธ (Adam Smith) เฮอร์เบิร์ สเปนเซอร์ “ผู้เข้มแข็งที่สุดเท่านั้นจะอยู่รอด” ปัจจุบันแนวคิดการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ได้เน้นความสำคัญเป็นอันดับแรกคือ ประเด็นทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับความมั่งคงและสวัสดิการ

หลักเกณฑ์สำคัญที่ใช้ในการศึกษา ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนั้น มีหลักเกณฑ์สำคัญที่จะใช้ในการศึกษาได้หลายหลักเกณฑ์ด้วยกัน แต่ก็เป็นเรื่องยากที่จะหาหลักเกณฑ์เพื่อทำความเข้าใจหรืออธิบายต่อปัญหาโดยเฉพาะปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับกิจกรรมระหว่างประเทศ ที่มีการเคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเพิ่มความสับสนมากมาย ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดำเนินวิถีชีวิตของประชากรและความสัมพันธ์ระหว่างกัน จึงขึ้นอยู่กับความสามารถของรัฐบาลในฐานะผู้กำหนดนโยบายระหว่างประเทศของรัฐ อาจแบ่งหลักเกณฑ์สำคัญที่ใช้ในการกำหนดนโยบายระหว่างประเทศ ได้ ดังนี้ 1. อำนาจ 2. การใช้ทฤษฎีที่เป็นระบบ

สวัสดีครับ