Demonstration School University of Phayao

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
Advertisements

เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
ไฟป่า(Forest Fire).
พายุฝนฟ้าคะนอง(Thunder storm)
บรรยากาศ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
การพยากรณ์อากาศ คือ การคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาข้างหน้า.
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
Global Warming.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
ผลกระทบจากวิกฤตการโลกร้อน
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
หากไม่มีการช่วยกันแก้ไขปัญหาโลกร้อนในวันนี้ ในอนาคตจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร 1. ทำให้ฤดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเร็วขึ้น.
โดย นางภัทรา คำสีทา ตำแหน่ง ครู ค.ศ.๑ โรงเรียนนาด้วงวิทยา
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
วาตภัย.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
ข้อมูลปัญหาที่นำมาใช้เพื่อการออกแบบสวน
หมอก  หมอก (Fog) หมายถึงเมฆที่เกิดใกล้พื้นดิน หรือหมายถึง ไอน้ำซึ่งได้กลั่นตัวจนเป็นเม็ดละอองน้ำที่เห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบาล่องลอยอยู่ในอากาศ การเกิดหมอก.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
เครื่องดูดฝุ่น.
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
1. แนวความคิดในการศึกษา
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
การใช้นั่งร้านอย่างปลอดภัย
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
จัดทำโดย ด.ช.ธีรัตม์ ทัศนัย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินถล่ม.
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
อุตุนิยมวิทยากับการแจ้งเตือนภัย
โลก ร้อน. จำนวนพายุ เฮ อริเคน ที่มีความ รุนแรงมากระดับ 4 และ 5 เพิ่มขึ้น สองเท่า ใน สามสิบปีที่ผ่าน มา.
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
การตรวจอากาศด้วยเรดาร์
การหักเหของแสง (Refraction)
การพยากรณ์อากาศ โดย... นางธีราพรรณ อินต๊ะแสน เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติงาน สถานีอุตุนิยมวิทยาอุทกทุ่งช้าง.
ชุมชนเข้มแข็ง ด้านการ เตรียมพร้อมป้องกันภัยธรรมชาติ
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ดาวพุธ (Mercury).
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Demonstration School University of Phayao บทที่ 2 ลมฟ้าอากาศ By Ukrit Chaimongkon Demonstration School University of Phayao

พายุฟ้าคะนอง ลมกระโชก คือปรากฏการณ์ที่เกิดจากลมเปลี่ยนแปลงความเร็วอย่างฉับพลัน เพิ่มขึ้นและลดลงในระยะเวลาสั้น ๆ (พบน้อยครั้งมากเมื่อเกิดนานกว่าสองชั่วโมง) พายุฟ้าคะนอง (thunderstorm) คือ ปรากฏการณ์ที่เกิดฝนตกหนัก ลมแรงฟ้าแลบ ฟ้าร้อง และฟ้าผ่า บางครั้งมีลูกเห็บตก (พายุฟ้าคะนองจะเกิดเฉพาะถิ่น ในระยะเวลาสั้น ๆ และครอบคลุมพื้นที่ไม่มากนัก เกิดในฤดูร้อนที่อากาศร้อนมาก ๆ)

การเกิดพายุฟ้าคะนองมีขั้นตอนดังนี้ น้ำระเหยเป็นไอได้มาก ไอน้ำลอยตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจนถึงระดับที่อุณหภูมิต่ำ ไอน้ำจะควบแน่นเป็นละอองน้ำ และเกิดต่อเนื่องเป็นเมฆคิวมูโลนิบัส เกิดฝนตกหนักมีลมกระโชกแรง กระแสลมจะหอบเอาหยดน้ำบางส่วนขึ้นสู่เบื้องบนที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า ทำให้หยดน้ำกลายเป็นน้ำแข็งตกลงสู่เบื้องล่าง เกล็ดน้ำแข็งบางส่วนจะถูกกระแสลมหอบขึ้นสู่เบื้องบนอีก

4.2 ถ้าประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่จากก้อนเมฆสู่พื้นโลก เรียกว่าฟ้าผ่า การที่เกล็ดน้ำแข็งเคลื่อนที่สวนทางกัน ทำให้เกิดการสะสมและแลกเปลี่ยนประจุไฟฟ้าในก้อนเมฆดังนี้ 4.1 ถ้าเกิดในก้อนเมฆหรือระหว่างก้อนเมฆจะทำให้เกิดความต่างศักย์มากพอที่จะทำให้เกิดฟ้าแลบ 4.2 ถ้าประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่จากก้อนเมฆสู่พื้นโลก เรียกว่าฟ้าผ่า 4.3 ในขณะที่ฟ้าผ่าทำให้อากาศโดยรอบมีความร้อนสูง (3000 องศาเซลเซียส) ทำให้อากาศบริเวณนั้นขยายตัวอย่างรวดเร็วเกิดเป็นเสียงดังที่เรียกว่า ฟ้าร้อง

ลักษณะการเกิดพายุฟ้าคะนอง เมฆทวีจำนวนมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ลมพัดแรง ลมกระโชคเป็นครั้งคราว ฝนตกหนักในเวลาต่อมา บางครั้งลูกเห็บตก เกิดฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า เกิดลมวง

ผลกระทบที่เกิดจากพายุฟ้าคะนอง ลมกระโชคแรง ลมแรง ทำให้บ้านเรือนเสียหาย ต้นไม้โคน ป้ายโฆษณาลมพังเสียหาย ก่อให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน

เกิดฟ้าผ่า เป็นอันตรายต่อสัตว์ และมนุษย์ พายุฟ้าคะนองจะเกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกพื้นที่ โดยเฉพาะเดือนมีนาคม ถึง พฤษภาคม พายุฟ้าคะนองที่มีความรุนแรงมากกว่าปรกติเราเรียกว่า “พายุฤดูร้อน” เกิดลูกเห็บตก เป็นอันตรายต่อมนุษย์ พืชผลทางการเกษตร และสิ่งก่อสร้าง

การป้องกันอันตรายจากพายุฟ้าคะนอง หากอยู่ในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อภัยพายุฤดูร้อน ควรเตรียมรับมือดังนี้ ไม่ยืนอยู่ในที่โล่งแจ้ง ถ้าเกิดพายุฟ้าคะนอง ให้อยู่ในที่ที่มีความแข็งแรงมั่นคง ออกจากวัสดุที่เป็นสื่อไฟฟ้าทุกชนิด เช่น เหล็ก โลหะ ต้นไม้ในที่โล่งแจ้ง ควรหลีกให้ไกลจากฝังทะเล เพื่อหลีกเลี่ยง คลื่นในทะเลซัดฝัง ระวังน้ำป่าไหลหลาก ไม่ควรอยู่ไนที่ต่ำ น้ำจะท่วมขังได้ง่าย ควรตรวจสภาพอาคารบ้านเรือนให้แข็งแรงคงทนจากลมแรง ไม่สวมใส่เครื่องประดับที่ทำจากโลกหะ ไม่ทำตัวโดดเด่นในที่โล่งแจ้ง

การหลีกเลี่ยงอันตรายจากฟ้าผ่า ไม่อยู่ในที่โล่งแจ้งขณะฝนตกหนัก ไม่ถือสื่อนำไฟฟ้ากลางแจ้งที่มีฝนตกหนัก ที่อาการสูงมาก ๆ ควรต่อสายดิน

Thank you for your attention !