ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ งานนำเสนอ
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
กลไกการวิวัฒนาการ.
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต UMAPORN.
บรรยากาศ.
Leaf Monocots Dicots.
การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆเรียกว่า เซลล์ 1.สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ 2.สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น.
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
ชีวเคมี II Bioenergetics.
หินแปร (Metamorphic rocks)
การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 5 Colligative property
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
BIOL OGY.
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
น้ำและมหาสมุทร.
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
วิชา สรีรวิทยาของพืช ( ) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว จัดอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
DNA สำคัญอย่างไร.
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
Immunity against viral infection ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว.
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
ซ่อมเสียง.
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
โดย นางธนาวลัย อรัญญิก
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ระบบขับถ่าย กับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
น้ำ.
การรักษาสมดุลร่างกาย (Homeostasis)
Kingdom Plantae.
การรักษาดุลยภาพของเซลล์
การรักษาดุลภาพของเซลล์
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข.
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์ ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์

เซลล์จะดำรงชีวิตอยู่ได้จะต้องประกอบไปด้วย องค์ประกอบและออร์แกแนลล์ต่างๆและขึ้นอยู่กับ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ถ้าสภาพแวดล้อมภายนอก เซลล์เปลี่ยนแปลง จะมีผลต่อเมทาบอลิซึมของเซลล์ สภาวะนี้จะแบ่งแยกออกจากกันโดยเยื่อหุ้มเซลล์ ตลอดเวลาที่เซลล์มีชีวิต จะมีการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์โดยเยื่อหุ้ม เซลล์

1. การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ มี 2 แบบคือ 1.1 การลำเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน (passive transport) 1.1.1 การแพร่ (diffusion)

ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ของสาร จะขึ้นอยู่กับสิ่งต่อไปนี้ 1.ความเข้มข้นของสารที่แพร่ 2. อุณหภูมิ 3. ความดัน 4. สิ่งเจือปนหรือตัวละลายรวมทั้งตัวกลางที่สารแพร่ผ่าน 5. การดูดติด 6. ขนาดและน้ำหนักของสารที่แพร่ 7. ความสามารถในการละลายของสารที่แพร่ 8. สถานะของสารที่จะแพร่

1.1.2 ออสโมซิส (osmosis) เป็นการแพร่ของเหลวหรือการแพร่ของน้ำผ่านเยื่อเลือกผ่านโดยน้ำ จะแพร่จากบริเวณที่มีความหนาแน่นของน้ำมาก ไปยังบริเวณที่มีความ หนาแน่นของน้ำน้อยกว่า

สารละลายที่เกี่ยวข้องกับการออสโมซิส มี 3 ชนิด สารละลายไฮเปอร์โทนิก (hypertonic solution) สารละลายไฮโปโทนิก (hypotonic solution) สารละลายไอโซโทนิก (isotonic solution)

1.1.3 การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facillitated Diffusion) เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารจากที่ที่มีความเข้มข้นสูง ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำโดยอาศัยโปรตีนตัวนำ

1.2 การลำเลียงแบบใช้พลังงาน (Active transport)

2. การลำเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 2.1 เอกโซไทโทซิส (Exocytosis) เป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ่ออกจากเซลล์ สารที่จะถูกส่งไป นอกเซลล์บรรจุอยู่ในเวสสิคิล

2.2 เอนโดไซโทซิส (Endocytosis) เป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์ โดยเอนโดไซโทซิส ในสิ่งมีชีวิตมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามกลไกการลำเลียง คือ 2.2.1 ฟาโกไซโทซิส (Phagocytosis) 2.2.2 พิโนไซโทซิส (Pinocytosis) 2.2.3 การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ (Receptor)