Beetham and Boyle : ได้เสนอแนวคิด ปิรามิดประชาธิปไตย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี
Advertisements

สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
สิ่งท้าทายพระสงฆ์ในบริบทสังคมปัจจุบัน
ความหมายของเครือข่าย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
สรุปวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society) รศ. น. ท. ดร
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
แนวคิด ในการดำเนินงาน
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
สัปดาห์ที่ 4.
กับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
รัฐศาสตร์ในยุคโลกาภิวัตน์
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
การเลือกตั้ง (Election)
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
Local Autonomy ความเป็นอิสระของท้องถิ่น Autonomy Auto-Nomas.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์ วิธีคิดแบบนักบริหาร ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
Preparation for Democratic Citizen
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
ทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง
(Individual and Organizational)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
วิถีชีวิตประชาธิปไตย
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร
ความยุติธรรมทางสังคม
บทเรียนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
คำถามสำคัญของกฎหมายสิทธิมนุษยชน
เพื่อความเป็นพลเมือง (Civic Education)
คุณณรงค์ โชควัฒนา นักวิชาการและนักธุรกิจอิสระ
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
กรอบในการวิเคราะห์ ผลกระทบจากโครงการ พัฒนาของรัฐ.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง
ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
เรื่อง สมานฉันท์ จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง วิเคราะห์ เปรียบเทียบ เหตุการณ์ใน ประวัติศาสตร์ไทย ที่แสดงถึง ความสัมพันธ์ใน ความต่อเนื่อง ของเวลาได้ 2.
ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย : ที่มาและทางออก
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การจัดระเบียบทางสังคม ในสังคมอยุธยา
ครูจงกล กลางชล 1. 2 สรุปแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการ ด้านการเมือง – การปกครองโดยใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Beetham and Boyle : ได้เสนอแนวคิด ปิรามิดประชาธิปไตย โลกได้พบชัยชนะอย่างเด็ดขาดของระบอบประชาธิปไตยคือ เสรีประชาธิปไตยแบบมีตัวแทน (Representative, Liberal Democracy) Beetham and Boyle : ได้เสนอแนวคิด ปิรามิดประชาธิปไตย

1. Free and Fair Elections 2. Open and Accountable Government 3. Civil and Political Rights 4. A Democratic Society

2 4 3 1 ปิรามิดประชาธิปไตย

1. Democracy’s Extrinsic Conditions ปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบอบประชาธิปไตย 1. Democracy’s Extrinsic Conditions 1.1 Religious Intolerance

อำนาจทางศาสนาต้องขัดแย้งและเผชิญหน้ากับอำนาจทางการเมืองโดยปริยาย การแก้ไขทางศาสนาต้องอ้างพระผู้เป็นเจ้าซึ่งเข้ากันไม่ได้กับการแก้ไขความขัดแย้งแบบประชาธิปไตย ซึ่งต้องใช้วิธี Deliberation and Compromise

1.2 Severe Socioeconomic inequality ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมที่ต่างกันมากๆ ของกลุ่มคนทำให้ออกแบบระบบการเมืองและนโยบายทางการเมืองที่จะประสานประโยชน์ระหว่างกลุ่มได้ยากลำบาก

1.3 Ethnic Conflict เพราะทำให้มวลชนยอมรับความสำนึกเรื่องความเป็นพลเมืองแบบนามธรรมได้ยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าประสบการณ์ทางประวัติศาสตร์ชี้ให้เห็นว่าความแตกต่างและความขัดแย้งเกี่ยวกับอำนาจและความมั่งคั่งนั้นผูกพันอยู่กับความแตกต่างในเรื่องชาติพันธ์ด้วย

1.4 Contested Boundaries and Identities อาณาเขตและเอกลักษณ์ทางการเมืองของสังคมการเมืองหนึ่งๆ เป็นเรื่องของประสบการณ์ทางประวัติศาสตร์ซึ่งมักไม่ราบเรียบและสวยสดงดงาม จากหลายความคิดและหวังไม่ตรงกัน

1.5 Capitalist Production, Accumulation, and Distribution ประเทศกำลังพัฒนามักจะมีความโน้มเอียงไปทางอำนาจนิยม (Authoritarianism) มากกว่าเสรีประชาธิปไตย ความสัมพันธ์ระหว่างระบบทุนนิยมกับระบอบประชาธิปไตยจึงเป็นความสัมพันธ์ที่จำเป็น

2. Democracy’s Intrinsic Tendencies 2.1 Oligarchy 2.2 Free Riding 2.3 Cyclical Majorities

2.4 Functional Autonomy 2.5 Corruption

จงอธิบายปัญหาที่เกิดขึ้นกับประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศที่กำลังพัฒนา ที่ปกครองระบอบประชาธิปไตย สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่คือปัญหาอะไรบ้างพร้อมยกตัวอย่างประกอบ ทำส่งในห้องเรียนครับ