นายสุวิชช์ เชิงปัญญา ผู้สอน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
ระบบเทคโนโลยี Technology System
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
เรื่อง ระบบเทคโนโลยี.
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
การติดตาม และประเมินโครงการ.
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศ ในบรรยากาศในภาคตะวันออก” หลักการและเหตุผล มลภาวะทางอากาศ (Air pollution) เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ระบบเทคโนโลยี.
กลุ่มgirls’generation
แผนงานป้องกันและลดผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลง สภาวะภูมิอากาศ โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรอุทยาน แห่งชาติทางทะเล ( กิจกรรมจัดการแนวปะการังและชายหาด )
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
เรื่อง ระบบเทคโนโลยี 1.นางสาว จุฑามาศ สุทธศิลป์ เลขที่ 11
เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีกับศาสตร์ จากความหมายของคำว่า "วิทยาศาสตร์" และความหมายของคำว่า "เทคโนโลยี" ที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่า วิทยาศาสตร์เป็นความรู้ที่นำไปใช้อธิบายได้ว่า.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
ความสัมพันธ์ของ วิทยาศาสตร์กับ เทคโนโลยี จากความหมายของคำว่า " วิทยาศาสตร์ " และความหมายของคำว่า " เทคโนโลยี " อธิบายได้ว่า ทำไมจึงเป็น อย่างนั้น นักชีววิทยาจะอธิบายได้ว่า.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
บทที่ 4 เทคโนโลยี.
ความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จากความหมายของคำว่า ‘‘ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ’’ จะเห็นว่าวิทยาศาสตร์ เป็นความรู้ส่วนเทคโนโลยีเป็น การนำความรู้มาใช้ให้เป็น.
ภาวะโลกร้อน.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์กายภาพทั้ง 6 ภาคของไทย และสภาวะแวดล้อมต่างๆ ศึกษาภัยธรรมชาติต่างๆ ซึ่งทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือปรากฏการณ์ในพื้นที่
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
ภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายสุวิชช์ เชิงปัญญา ผู้สอน ง 31101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) สาระที่ 1. การดำรงชีวิตและครอบครัว สาระที่ 2. การออกแบบและเทคโนโลยี นายสุวิชช์ เชิงปัญญา ผู้สอน

วิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี หน่วยที่ 2.2 วิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี เทคโนโลยีที่มนุษย์ใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นในรูปของกระบวนการ หรือรูปแบบของเครื่องมือ ก่อนการได้เทคโนโลยีจะต้องผ่าน “ระบบเทคโนโลยี” ก่อนเสมอ

หน่วยที่ 2.2 ระบบเทคโนโลยี กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process) ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Technological Process) กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process) ตัวป้อน (Input) ผลลัพธ์/ผลิตภัณฑ์ (Output) ปัจจัยที่เอื้อหรือขัดขวางต่อระบบเทคโนโลยี (Consideration) ระบบที่ประกอบด้วยกระบวนการทำงานร่วมกันขององค์ประกอบทางเทคโนโลยี ซึ่งองค์ประกอบของเทคโนโลยีแต่ละส่วนจะทำงานสอดคล้องกัน

Bacteria Gram + => E. coli หน่วยที่ 2.2 ตัวป้อน (Input) ความต้องการด้านต่างๆของมนุษย์/ ปัญหาของมนุษย์ที่ต้องการการแก้ไขเพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข ตัวป้อนของกล้องจุลทรรศน์ ต้องการเครื่องมือที่สามารถใช้ศึกษาโครงสร้างและรายละเอียดต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ไม่สารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า Bacteria Gram + => E. coli Bacteria Gram - => S. typhi

กระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยที่ 2.2 กระบวนการทางเทคโนโลยี การกำหนดปัญหาหรือความต้องการ การเลือกวิธีการแก้ปัญหา การรวบรวมข้อมูล การปรับปรุงแก้ไข และพัฒนา การออกแบบและปฏิบัติ การทดสอบ การประเมินผล

ทรัพยากรทางเทคโนโลยี หน่วยที่ 2.2 ทรัพยากรทางเทคโนโลยี 1. คน >>> ความรู้เฉพาะด้าน เช่น พันธุวิศวกรรม 2. ข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ >>> รายงานวิชาการ มี Impact factor สูง 3. วัสดุ >>> ธรรมชาติ , มนุษย์สังเคราะห์ขึ้น 4. เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ 5. พลังงาน 6. ทุน/ ทรัพย์สิน 7. เวลา

ศาสนา, กฎหมาย , ความเชื่อ, วัฒนธรรมท้องถิ่น, ทุน และข้อจำกัดทางเวลา หน่วยที่ 2.2 ปัจจัยที่เอื้อหรือขัดขวางต่อเทคโนโลยี ศาสนา, กฎหมาย , ความเชื่อ, วัฒนธรรมท้องถิ่น, ทุน และข้อจำกัดทางเวลา

หน่วยที่ 2.2 ศาสนา และ วิทยาศาสตร์

ผลผลิตของระบบเทคโนโลยี หน่วยที่ 2.2 ผลผลิต/ผลลัพธ์ สิ่งที่ได้จากการทำงานร่วมกันขององค์ประกอบของระบบเทคโนโลยีโดยอยู่ในรูปของสิ่งของ หรือวิธีการ ผลผลิตของระบบเทคโนโลยี เทคโนโลยีการแพทย์ เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีอวกาศ

กระบวนการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม หน่วยที่ 2.2 ตัวอย่างระบบเทคโนโลยี Materials Input ต้องการอุปกรณ์ช่วยในการเกษตร กระบวนการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Consideration ปัจจัยขัดขวาง : ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ปัจจัยเอื้อ : ทรัพยากรการผลิตพร้อม

หน่วยที่ 2.2 ผลกระทบทางเทคโนโลยี มลพิษ (Pollution) สาร วัตถุ หรือสิ่งต่างๆ ที่ทำให้สภาพแวดล้อมรอบตัวมนุษย์ อากาศ น้ำ ดิน เกิดความเสื่อมโทรม มีสภาพเปลี่ยนแปลงจนไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้

หน่วยที่ 2.2 ผลกระทบทางเทคโนโลยี มลพิษ (Pollution) มลพิษทางอากาศ มลพิศทางเสียง มลพิษทางน้ำ ปรากฎการณ์เรือนกระจก

หน่วยที่ 2.2 มลพิษทางอากาศ Japan smog เกิดในเมืองใหญ่ที่มีความเจริญด้านเทคโนโลยีสูง ประชากรหนาแน่น การจราจรคับคั่ง สารตะกั่วจากการเผาไม้ไม่สมบูรณ์ของรถยนต์ ทำให้เกิดการปวดท้องอย่างรุนแรง อาเจียน คอแห้ง เกิดการสะสมในร่างกาย อาจทำให้หมดสติและตายได้

หน่วยที่ 2.2 พิษจากสารตะกั่ว เหงือกบวม มีสีคล้ำ กล้ามเนื้อเป็นตะคริว Wrist-drop in adult with lead poisoning and renal failure การสะสมของตะกั่วตามข้อ ก่อเกิดอาการปวดตามข้อ

หน่วยที่ 2.2 มลพิษทางเสียง dB – การวัดระดับเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียง dBA – การวัดระดับความดังเสียงโดยหูของมนุษย์ซึ่งจะรับความดังของเสียงได้น้อยกว่าความเป็นจริง ซึ่งกำหนดว่า - กลางวัน ไม่เกิน 55 dBA - กลางคืน ไม่เกิน 45 dBA

หน่วยที่ 2.2 มลพิษทางน้ำ DO – ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำเพื่อให้สิ่งมีชีวิตใช้ในกระบวนการหายใจ ปกติ ต้องมี 8 มิลลิกรัม/ลิตร ที่ 30 องศาเซลเซียส BOD – ปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ใช้ในการย่อยสลายภายใต้สภาวะที่มีออกซิเจน ปกติ ในเวลา 5 วัน ไม่ควรเกิน 20 มิลลิกรัม/ลิตร

หน่วยที่ 2.2 ปรากฎการณ์เรือนกระจก

ผลกระทบของ Greenhouse Effect หน่วยที่ 2.2 ผลกระทบของ Greenhouse Effect ด้านระบบนิเวศ - การละลายของน้ำแข็งที่ขั้วโลก

ผลกระทบของ Greenhouse Effect หน่วยที่ 2.2 ผลกระทบของ Greenhouse Effect ด้านระบบนิเวศ – ปะการังฟอกขาว เพราะ สูญเสียการอยู่ร่วมแบบ symbiosis กับ สาหร่ายบางชนิด

ผลกระทบของ Greenhouse Effect หน่วยที่ 2.2 ผลกระทบของ Greenhouse Effect ด้านเศรษฐกิจ

หน่วยที่ 2.2 การแก้ไขปัญหา Can we save our homeland? 1. ลดอัตราการเผาไม้ของเชื้อเพลิง 2. ลดปริมาณก๊าซที่ก่อให้เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก 3. การยอมรับในสภาพที่เกิดขึ้นและปรับตัว Can we save our homeland?