ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี Good Governance
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
นโยบายการบริหารจัดการ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์เป็นเรื่องเกี่ยวกับ “กิจการสาธารณะ (Public Affairs)” และพื้นฐานของรัฐประศาสนศาสตร์ก็คืองานบริหารงานภาครัฐใดๆ ที่ต้องคำนึงถึง.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สหกรณ์การเกษตรสามง่าม จำกัด
การจัดสวัสดิการ ของสหกรณ์
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
หมวด7 15 คำถาม.
การประชุมชี้แจง เพื่อเปิดรับฟังความคิดเห็นต่อร่างนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี กรมการพัฒนาชุมชน ผ่านระบบ Web Conference วันจันทร์ ที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕.
Good Corporate Governance
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารราชการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ตัวชี้วัดที่ 3.5 ร้อยละของคุณภาพการบริการ ของสำนักงานเขต
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
การปฏิบัติงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
แนวทางการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance: OG)
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
PMQA พัชรศรี ศรีเมือง กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกระทรวงยุติธรรม 14 ก.ย. 53
คุณลักษณะของสังคมไทยที่ พึงปรารถนา ต้องเป็นสังคมที่ผาสุกและเป็นธรรม ต้องเป็นสังคมที่มีระเบียบวินัย มีเหตุผล เคารพในกติกาของสังคม ต้องเป็นสังคมที่พึ่งพาตนเองได้
การสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี และธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ผลสัมฤทธิ์ การดำเนินงานขับเคลื่อนนโยบายตามกลยุทธ์ ปีงบประมาณ 2555 กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตาม หลักสูตรและส่งเสริม ความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการ.
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
หลักนิติธรรมในระบอบประชาธิปไตย กับการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
จริยธรรมสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
นโยบายและแนวคิด โรงพยาบาลคุณธรรม.
เรื่อง การมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล
หลักการบริหารงานบุคคลตามระบบคุณธรรม
ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2 นายสันทาน สีสา ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2

การสร้างธรรมาภิบาล ในสหกรณ์ โดย วนิดา รุ่มโรย ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์

ธรรมาภิบาลในสหกรณ์ หมายถึง การบริหารกิจการของสหกรณ์ให้เป็นไปอย่าง ซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส มีความรับผิดชอบ สร้างการมีส่วนร่วม มีการใช้กระบวนการบริหารจัดการ เพื่อให้ การใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล เกิดความคุ้มค่า ประหยัด มีมาตรฐาน เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทุกฝ่ายด้วยความเป็นธรรม

ทำไมต้องมีธรรมาภิบาล? ทำให้สหกรณ์ได้รับความเชื่อถือ ศรัทธา และ ยอมรับจากทุกฝ่าย ลดความเสี่ยง ป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น สหกรณ์สามารถระดมทุน หรือ เข้าถึงแหล่งทุนได้ง่าย เพิ่มโอกาสในการสร้างความเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน ของสหกรณ์

หลักธรรมาภิบาลในสหกรณ์ หมวด 1 หลักนิติธรรม (The Rule of law) หมวด 2 หลักคุณธรรม (Morality) หมวด 3 หลักความโปร่งใส (Transparency) หมวด 4 หลักการมีส่วนร่วม (Participation) หมวด 5 หลักความรับผิดชอบ (Responsibility) หมวด 6 หลักความคุ้มค่า (Cost-effectiveness or Economy)

ตารางเปรียบเทียบหลักธรรมาภิบาลในแต่ละหน่วยงาน ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี (6ข้อ) สถาบันพระปกเกล้า (6ข้อ) องค์การสหประชาชาติ(10ข้อ) อ.วรเทพ ไวทยาวิโรจน์ (10ข้อ) 1. หลักนิติธรรม หลักนิติธรรม หลักนิติปฏิบัติ 2. หลักคุณธรรม หลักคุณธรรม หลักความเสมอภาค หลักความซื่อสัตย์ หลักความเป็นธรรม หลักการมีมาตรฐาน คุณธรรม จริยธรรม 3. หลักความโปร่งใส หลักความโปร่งใส หลักโปร่งใส เปิดเผย หลักคุณภาพ 4. หลักการมีส่วนร่วม หลักการมีส่วนร่วม 5. หลักความรับผิดชอบ หลักความรับผิดชอบ หลักการกระจายอำนาจ 6. หลักความคุ้มค่า หลักความคุ้มค่า หลักประสิทธิผล หลักประสิทธิภาพ หลักการตอบสนอง หลักการมุ่งเน้นฉันทามติ

หมวด 1 หลักนิติธรรม เป็นเรื่องเกี่ยวกับ การที่สหกรณ์กำหนด ข้อบังคับ ระเบียบของสหกรณ์ เป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์ โดยคำนึงถึง สิทธิ เสรีภาพ ความยุติธรรมของสมาชิก

หมวด 2 หลักคุณธรรม เป็นเรื่องของ ความถูกต้อง ดีงาม การส่งเสริมให้สมาชิกพัฒนาตนเองไปพร้อมกับการยกย่องชมเชย เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์มีความซื่อสัตย์ จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย มีความภาคภูมิใจ

หมวด 3 หลักความโปร่งใส เป็นเรื่องที่ สหกรณ์มีความโปร่งใสในการดำเนินงาน สามารถตรวจสอบ ความถูกต้องได้ มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารอย่างตรงไปตรงมา

หมวด 4 หลักการมีส่วนร่วม เป็นเรื่องของ การกระจายโอกาสให้สมาชิกสหกรณ์ มีส่วนร่วมทางการบริหารเกี่ยวกับการตัดสินใจ เรื่องต่างๆ รวมทั้งการจัดสรรทรัพยากรของสหกรณ์ ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ของสมาชิก

หมวด 5 หลักความรับผิดชอบ การที่สหกรณ์ตระหนักในสิทธิหน้าที่ ความสำนึกความรับผิดชอบต่อสังคม รับผิดชอบต่อสมาชิก การใส่ใจปัญหาสาธารณะบ้านเมือง

หมวด 6 หลักความคุ้มค่า สหกรณ์มีการบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มีจำกัดเพื่อเกิดประโยชน์สูงสุด แก่สหกรณ์

เกณฑ์ธรรมาภิบาลในสหกรณ์

ไปใช้บริหารงานในสหกรณ์" การประเมินผล "การนำหลักธรรมาภิบาล ไปใช้บริหารงานในสหกรณ์"

เพื่อตรวจสอบหา จุดอ่อน จุดแข็ง /นำไปเป็นข้อมูล เพื่อกำจัดจุดอ่อน การประเมินผล เพื่อตรวจสอบหา จุดอ่อน จุดแข็ง /นำไปเป็นข้อมูล เพื่อกำจัดจุดอ่อน ครั้งที่ 1 สหกรณ์ประเมินผลตนเอง ร่วมกับ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์

เพื่อต้องการทราบว่ามีสหกรณ์ใดที่นำหลักธรรมาภิบาล มาใช้บริหารงาน การประเมินผล เพื่อต้องการทราบว่ามีสหกรณ์ใดที่นำหลักธรรมาภิบาล มาใช้บริหารงาน ได้ครอบคลุม ทุกด้าน ครั้งที่ 2 สหกรณ์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์

ช่วงที่ 2 พอใช้ ได้ 2 คะแนน ช่วงที่ 3 ดี ได้ 3 คะแนน หลักเกณฑ์การให้คะแนน ช่วงที่ 1 ต้องปรับปรุง ได้ 1 คะแนน ช่วงที่ 2 พอใช้ ได้ 2 คะแนน ช่วงที่ 3 ดี ได้ 3 คะแนน ต้องปรับปรุง หมายถึง สหกรณ์ที่มีการปฏิบัติงานไม่ได้ตามหลักเกณฑ์ฯ พอใช้ หมายถึง สหกรณ์ที่มีการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์ฯ ดี หมายถึง สหกรณ์ที่มีการปฏิบัติงานสูงกว่าหลักเกณฑ์ฯ

ช่วงคะแนน ระดับผลการประเมิน เมื่อได้ร้อยละในภาพรวมแล้วนำมาเปรียบเทียบกับตาราง ดังนี้ ช่วงคะแนน ระดับผลการประเมิน ต่ำกว่าร้อยละ 60 ต้องปรับปรุง ร้อยละ 60 - 69 พอใช้ ร้อยละ 70 - 79 ดี ร้อยละ 80 ขึ้นไป ดีมาก

ตัวอย่างการประเมินผล

ตัวอย่างวิธีการคำนวณ “หลักนิติธรรม” ตัวอย่างวิธีการคำนวณ “หลักนิติธรรม” ข้อ ต้องปรับปรุง (1 คะแนน) พอใช้ (2 คะแนน) ดี (3 คะแนน) คะแนนรวม หมวด 1 A1 2 A2 3 A3 A4 A5 A6 1 A7 รวม 16 คะแนนรวมหมวด A = 16 คะแนน คะแนนร้อยละหมวด A = 76.19

ตัวอย่างวิธีการคำนวณ “หลักคุณธรรม” ตัวอย่างวิธีการคำนวณ “หลักคุณธรรม” ข้อ ต้องปรับปรุง (1 คะแนน) พอใช้ (2 คะแนน) ดี (3 คะแนน) คะแนนรวม หมวด 2 B1 1 B2 3 B3 B4 2 B5 B6 B7 รวม 15 คะแนนรวมหมวด B = 16 คะแนน คะแนนร้อยละหมวด A = 71.43

ดังนั้น สหกรณ์นี้ มีธรรมาภิบาลใน ระดับ ดี การคำนวณคะแนน หมวด จำนวนข้อ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ คะแนนร้อยละ A 7 21 16 (16/21) x 100 = 76.19 B 15 (15/21) x 100 = 71.43 C 18 (18/21) x 100 = 86.71 D E 19 (19/21) x 100 = 90.48 F รวม A - F 42 126 98 (98/126) x 100 = 77.78 ดังนั้น สหกรณ์นี้ มีธรรมาภิบาลใน ระดับ ดี

จุดอ่อนที่พบในสหกรณ์

ที่มาร่วมกิจกรรมในวันนี้ ขอขอบคุณทุกท่าน ที่มาร่วมกิจกรรมในวันนี้