หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สิทธิเด็ก เดินหน้า.
Advertisements

การชี้แนะสาธารณะด้านสุขภาพ (HEALTH ADVOCACY)
Self Help Group หทัยรัฐณ์ วารินทร์ นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านบึง
งานนำเสนอ Akanet Maneenut
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
วิธีการทางสุขศึกษา.
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
การจัดการศึกษาในชุมชน
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
สุขภาพจิต และการปรับตัว
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
สังคมต้นแบบเรียนรู้การป้องกัน และดูแลโรคกระดูกพรุน
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ทฤษฎีการพยาบาล กับ การประยุกต์ใช้ในการพยาบาลจิตเวช
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
หมายเหตุ : หน้าแรกแล้วแต่ท่านจะออกแบบนะครับ
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 1 การวางแผนดูแลสุขภาพของ บุคคลในชุมชนและสังคม.
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ

วัตถุประสงค์ อธิบายบทบาทพยาบาลในการเป็นผู้สอนทางสุขภาพได้ อธิบายบทบาทพยาบาลในการเป็นผู้ประเมินทางสุขภาพได้ อธิบายบทบาทพยาบาลในการเป็นผู้ให้คำปรึกษาทางสุขภาพได้ อธิบายบทบาทพยาบาลในการจัดระบบและเลือกใช้ข้อมูลสุขภาพได้ อธิบายบทบาทพยาบาลในการสร้างแรงสนับสนุนทางสังคมด้านสุขภาพได้ อธิบายบทบาทพยาบาลในการสร้างพลังอำนาจด้านสุขภาพได้

บทบาทการเป็นผู้สอนทางสุขภาพ

หลักการสอนทางสุขภาพ ไม่เน้นเฉพาะเนื้อหา แต่เน้นที่กระบวนการ ไม่เน้นเฉพาะเนื้อหา แต่เน้นที่กระบวนการ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียนแต่ละคน จัดโอกาสการเรียนรู้ที่หลากหลาย สร้างแรงจูงใจ และเสริมแรง นำเข้าสู่บทเรียนที่เร้าความสนใจ

หลักการสอนทางสุขภาพ (ต่อ) วางแผนการสอนอย่างเป็นระบบก่อนสอน สร้างความสัมพันธ์ที่ดี สอนจากสิ่งที่ง่ายกว่าไปสิ่งที่ยาก จัดเตรียมสถานที่ สิ่งแวดล้อม สื่อ อุปกรณ์ให้พร้อม มีการประเมินผลการสอน

กระบวนการสอนทางสุขภาพ 4 ขั้นตอน กระบวนการสอนทางสุขภาพ 4 ขั้นตอน การประเมินก่อนการสอน การวางแผนและการเขียนแผนการสอน การสอน การประเมินผล

บทบาทการเป็นผู้ประเมินภาวะสุขภาพ

พยาบาลจะต้องประเมินอะไรบ้าง ? ข้อมูลทั่วไป อาการสำคัญ ภาวะสุขภาพปัจจุบัน ความเจ็บป่วยและการดูแลสุขภาพในอดีต

พยาบาลจะต้องประเมินอะไรบ้าง ? 5. ประวัติครอบครัวและปัญหาทางพันธุกรรม 6. ประวัติทางจิตสังคม 7.การตรวจตามระบบต่าง ๆ

บทบาทการเป็นผู้ให้การปรึกษาทางสุขภาพ รูปแบบ รายบุคคล (Individual Counseling) รายกลุ่ม (Group Counseling)

ทักษะการให้การปรึกษาเพื่อส่งเสริมสุขภาพ

บทบาทการจัดระบบและการเลือกใช้ข้อมูลสุขภาพ

ระบบจัดเก็บข้อมูลสุขภาพ 5 ระบบ ระบบจัดเก็บข้อมูลสุขภาพ 5 ระบบ ระบบเฝ้าระวังโรค ระบบรายงานสถิติชีพ ระบบรายงานโรคจากสถานบริการสุขภาพ ระบบรายงานพิเศษเฉพาะโรค ระบบรายงานกิจกรรมสาธารณสุข

บทบาทการสร้างแรงสนับสนุนทางสังคมด้านสุขภาพ

บทบาทการสร้างเสริมพลังอำนาจด้านสุขภาพ ความหมาย “การสร้างเสริมพลังอำนาจ” เป็นกระบวนการที่ช่วยเสริมสร้างความสามารถและพัฒนาศักยภาพของบุคคล ครอบครัว ชุมชน ในการควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพหรือชีวิตเพื่อให้เขาเหล่านั้นมีพลัง มีความผาสุก และมีอำนาจมากขึ้นในการตัดสินใจ การเลือกใช้แหล่งประโยชน์ต่าง ๆ และดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อรักษาไว้ซึ่งสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ ในการพัฒนาเพื่อการพึ่งตนเอง ควบคุมตนเองโดยมีการใช้พลังอำนาจได้อย่างเต็มศักยภาพ

หลักสำคัญในการสร้างเสริมพลังอำนาจด้านสุขภาพ ปรับบริการให้เป็นเชิงรุก ให้ชุมชนหรือท้องถิ่นเป็นฐานการทำงาน เน้นกระบวนการฝึกฝนและการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง ทุกคนมีส่วนได้เสียเรื่องสุขภาพ ผู้รับบริการมีศักยภาพ มีความสามารถ

หลักสำคัญในการสร้างเสริมพลังอำนาจด้านสุขภาพ(ต่อ) 5. สร้างความไว้วางใจและยอมรับซึ่งกันและกัน 6. การสื่อสารควรเป็นแนวระนาบแบบสองทาง 7. ยอมรับความคิดเห็นการจัดการด้านสุขภาพของผู้รับบริการ 8. ผู้รับบริการเป็นผู้สร้างพลังอำนาจด้านสุขภาพโดยมีพยาบาลชี้แนะ

ภาพ 3 ภาพซ้อนกัน

สรุป