Health Strategic Management and Planning “การประเมินแผนกลยุทธ์”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
ความหมายของการวางแผน
การบริหารความสัมพันธ์และการฟื้นฟูความพอใจ จากบริการที่ผิดพลาด
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
Workshop 1.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
Information System Project Management
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
โดย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย สนับสนุนโดย
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
บทที่ 1 เป้าหมายและหน้าที่ในการบริหารการเงินเบื้องต้น.
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การทำงานเชิงรุก การทำงานเชิงรุก
Health Strategic Management and Planning “การนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ”
Faculty of Public Health, Mahasarakham University, Thailand
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การเงิน.
Analyzing The Business Case
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
Financial Management.
Good Corporate Governance
Computer Application in Customer Relationship Management
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) BY MANATSADA
บทที่ 3 Planning.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
การจัดทำแผนธุรกิจ.
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
การวางแผนการผลิต และการบริการ
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การวางแผนยุทธศาสตร์.
1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หลักการเขียนโครงการ.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Health Strategic Management and Planning “การประเมินแผนกลยุทธ์” Asst.Prof. Vorapoj Promasatayaprot Vorapos.p@msu.ac.th B.P.H.(Public Health Administration), B.Sc.(Health Education), B.A.(Political Science), M.Sc.(Public Health), Mini MBA in Health Faculty of Public Health, Mahasarakham University, Thailand

การติดตาม ประเมินผล และการควบคุม กำหนดว่าจะควบคุม ประเมินผลระดับอะไร ตั้งมาตรฐานหรือเป้าหมาย การวัดผลการดำเนินงาน เปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับมาตรฐาน เพื่อ - แก้ไข ปรับมาตรฐาน ปรับเป้าหมาย - ปรับกลยุทธ์ ปรับโครงสร้าง การสนับสนุน และปรับกิจกรรม

เทคนิคการวัดผลดำเนินงานขององค์กร (Primary Measures of Corporate Performance) การวัดแบบดั้งเดิม (Traditional Financial Measures) การวัดแบบร่วมสมัยอื่น ๆ (Other Contemporary Performance Measures)

การวัดแบบดั้งเดิม (Traditional Financial Measures) ที่นิยมกันมากคือการวัดผลตอบแทนจากการลงทุน (Return on Investment; ROI) เป็นการวัดความสามารถใน “การสร้างกำไร” จาก “ทรัพย์สิน” ของกิจการ นำไปสู่การจูงใจให้ใช้สินทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพ ROI มักมีผลกระทบจากวัฏจักรของธุรกิจ มากกว่าความสามารถของการบริหารงาน

การวัดแบบร่วมสมัยอื่น ๆ (Other Contemporary Performance Measures) การวัดเกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Measures) การวัดมูลค่าของผู้ถือหุ้น (Shareholder Value) การวัดด้วยวิธี Balanced Scorecard) การประเมินผลการดำเนินงานโดยใช้หมุดเทียบ (Benchmarking)

การวัดเกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Measures) ผู้มีส่วนได้เสีย ตัวชี้วัด ลูกค้า จำนวนลูกค้าใหม่ที่เพิ่มขึ้น Suppliers เวลาในการส่งมอบ พนักงาน Turnover Rate

การวัดมูลค่าของผู้ถือหุ้น (Shareholder Measures) เพื่อดูว่าผู้ถือหุ้นได้มูลค่าเพิ่ม (Value Added) หรือมี “ความมั่งคั่ง” (Wealth) เพิ่มขึ้น อันเนื่องมาจากการบริหารยุทธศาสตร์ของฝ่ายจัดการอย่างไรบ้าง EVA หรือ “Economic Value Added” ซึ่งเป็นการวัดความแตกต่างของมูลค่าธุรกิจก่อน Implement ยุทธศาสตร์ และหลักจาก Implement ยุทธศาสตร์แล้ว ว่าเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างไร MVA หรือ “Market Value Added” เป็นการวัดในแนวคิดเดียวกับ EVA หากแทนที่จะวัดความแตกต่างของ “มูลค่าธุรกิจ” ก็วัด “มูลค่าตลาดของหุ้นสามัญ” แทน

การประเมินผลการดำเนินงาน โดยใช้หมุดเทียบ (Benchmarking) ระบุ จุด บริเวณ หรือ กระบวนการ กำหนดตัวชี้วัด เลือกหน่วยงานหรือองค์กรชั้นแนวหน้าที่จะใช้เป็น Benchmarking คำนวณความแตกต่างของตัววัด ระหว่างกิจการกับหมุดเทียบ พัฒนาโปรแกรมงาน เพื่อปิดช่องว่างดังกล่าว นำโปรแกรมงานไปปฏิบัติให้ได้ผล

ปัญหาและผลข้างเคียงในการวัด Performance ปัญหาหลักๆ ของการวัดผลการดำเนินงานมีอยู่ 2 ประการ คือ การกำหนดวัตถุประสงค์ที่ไม่เป็นเชิงปริมาณ การไม่มีระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ที่น่าเชื่อถือและทันต่อเหตุการณ์

ปัญหาและผลข้างเคียงในการวัด Performance ผลข้างเคียงที่อาจเป็นอันตรายต่อองค์กร โดยรวมมีอยู่ 2 เรื่อง คือ การเน้นระยะสั้นมากกว่าระยะยาว (Short-Term Orientation) ดังนั้น จึงไม่ได้ท่มเททรัพยากรลงในเรื่องของการ -พัฒนาสมรรถนะ (Competencies) -วิจัย และ พัฒนา (R & D) -การสร้างตราสินค้า (Brand Building) -บำรุงรักษา (Maintenance) เป้าหมายถูกบิดเบือน (Goal Displacement) -Behavior Substitution (กิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์) -Subotimization หรือ Local Optimization (มุ่งเฉพาะประโยชน์ส่วนตน)