Health Strategic Management and Planning “การประเมินแผนกลยุทธ์” Asst.Prof. Vorapoj Promasatayaprot Vorapos.p@msu.ac.th B.P.H.(Public Health Administration), B.Sc.(Health Education), B.A.(Political Science), M.Sc.(Public Health), Mini MBA in Health Faculty of Public Health, Mahasarakham University, Thailand
การติดตาม ประเมินผล และการควบคุม กำหนดว่าจะควบคุม ประเมินผลระดับอะไร ตั้งมาตรฐานหรือเป้าหมาย การวัดผลการดำเนินงาน เปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับมาตรฐาน เพื่อ - แก้ไข ปรับมาตรฐาน ปรับเป้าหมาย - ปรับกลยุทธ์ ปรับโครงสร้าง การสนับสนุน และปรับกิจกรรม
เทคนิคการวัดผลดำเนินงานขององค์กร (Primary Measures of Corporate Performance) การวัดแบบดั้งเดิม (Traditional Financial Measures) การวัดแบบร่วมสมัยอื่น ๆ (Other Contemporary Performance Measures)
การวัดแบบดั้งเดิม (Traditional Financial Measures) ที่นิยมกันมากคือการวัดผลตอบแทนจากการลงทุน (Return on Investment; ROI) เป็นการวัดความสามารถใน “การสร้างกำไร” จาก “ทรัพย์สิน” ของกิจการ นำไปสู่การจูงใจให้ใช้สินทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพ ROI มักมีผลกระทบจากวัฏจักรของธุรกิจ มากกว่าความสามารถของการบริหารงาน
การวัดแบบร่วมสมัยอื่น ๆ (Other Contemporary Performance Measures) การวัดเกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Measures) การวัดมูลค่าของผู้ถือหุ้น (Shareholder Value) การวัดด้วยวิธี Balanced Scorecard) การประเมินผลการดำเนินงานโดยใช้หมุดเทียบ (Benchmarking)
การวัดเกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Measures) ผู้มีส่วนได้เสีย ตัวชี้วัด ลูกค้า จำนวนลูกค้าใหม่ที่เพิ่มขึ้น Suppliers เวลาในการส่งมอบ พนักงาน Turnover Rate
การวัดมูลค่าของผู้ถือหุ้น (Shareholder Measures) เพื่อดูว่าผู้ถือหุ้นได้มูลค่าเพิ่ม (Value Added) หรือมี “ความมั่งคั่ง” (Wealth) เพิ่มขึ้น อันเนื่องมาจากการบริหารยุทธศาสตร์ของฝ่ายจัดการอย่างไรบ้าง EVA หรือ “Economic Value Added” ซึ่งเป็นการวัดความแตกต่างของมูลค่าธุรกิจก่อน Implement ยุทธศาสตร์ และหลักจาก Implement ยุทธศาสตร์แล้ว ว่าเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างไร MVA หรือ “Market Value Added” เป็นการวัดในแนวคิดเดียวกับ EVA หากแทนที่จะวัดความแตกต่างของ “มูลค่าธุรกิจ” ก็วัด “มูลค่าตลาดของหุ้นสามัญ” แทน
การประเมินผลการดำเนินงาน โดยใช้หมุดเทียบ (Benchmarking) ระบุ จุด บริเวณ หรือ กระบวนการ กำหนดตัวชี้วัด เลือกหน่วยงานหรือองค์กรชั้นแนวหน้าที่จะใช้เป็น Benchmarking คำนวณความแตกต่างของตัววัด ระหว่างกิจการกับหมุดเทียบ พัฒนาโปรแกรมงาน เพื่อปิดช่องว่างดังกล่าว นำโปรแกรมงานไปปฏิบัติให้ได้ผล
ปัญหาและผลข้างเคียงในการวัด Performance ปัญหาหลักๆ ของการวัดผลการดำเนินงานมีอยู่ 2 ประการ คือ การกำหนดวัตถุประสงค์ที่ไม่เป็นเชิงปริมาณ การไม่มีระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ที่น่าเชื่อถือและทันต่อเหตุการณ์
ปัญหาและผลข้างเคียงในการวัด Performance ผลข้างเคียงที่อาจเป็นอันตรายต่อองค์กร โดยรวมมีอยู่ 2 เรื่อง คือ การเน้นระยะสั้นมากกว่าระยะยาว (Short-Term Orientation) ดังนั้น จึงไม่ได้ท่มเททรัพยากรลงในเรื่องของการ -พัฒนาสมรรถนะ (Competencies) -วิจัย และ พัฒนา (R & D) -การสร้างตราสินค้า (Brand Building) -บำรุงรักษา (Maintenance) เป้าหมายถูกบิดเบือน (Goal Displacement) -Behavior Substitution (กิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์) -Subotimization หรือ Local Optimization (มุ่งเฉพาะประโยชน์ส่วนตน)