เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

การเขียนผลงานวิชาการ
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
การตรวจสอบระบบบริหารคุณภาพภายใน
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การติดตาม และประเมินโครงการ.
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดขั้นตอน ลดการสูญเสียเวลา ในการ ตามใบนัดตรวจของผู้ป่วยใน 2. ลดเวลารอตรวจของผู้ป่วยใน.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ระดับหน่วยงาน แบบ ปย.1 แบบ ปอ.1 แบบ ปส. แบบ ปย.2 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3
สรุปผลการประเมินผลการควบคุมภายใน
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
การศึกษาความพึงพอใจของ
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ฟิล์มคุณภาพ แพทย์อ่านถูกต้อง
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานการควบคุมภายใน
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
1 UIE research Activities for research training
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการวางแผนคนวางแผนงานสำหรับหัวหน้างาน
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
การเรียนทางคลินิก โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
หลักการเขียนโครงการ.
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
แบบประเมินความเสี่ยงและการควบคุม
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลบ้านเขว้า
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน 1) รู้จักเครื่องมือพัฒนาคุณภาพต่างๆ ที่จะช่วย เสริมการทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพว่ามี ลักษณะอย่างไร มีเหตุผลอย่างไร มีวิธีการ ทำอย่างไร 2) ฝึกทักษะการใช้เครื่องมือพัฒนาคุณภาพต่างๆ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tool:01

Attribute Rating Map เร่งปรับปรุง ธำรงไว้ ยังรอได้ ใช้ไม่คุ้ม ความสำคัญสูง ธำรงไว้ คุณภาพด้อย/ ประสิทธิผลต่ำ คุณภาพดี/ มีประสิทธิผล ยังรอได้ ใช้ไม่คุ้ม ความสำคัญต่ำ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tool:02

ตาราง พบปัญหา/ไม่พบปัญหา การกระจายของปัญหา พบปัญหา (is) ไม่พบปัญหา (no) คำอธิบาย พบที่ไหน พบเมื่อไร พบกับใคร สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tool:03

ข้อความปัญหาคุณภาพ ในระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน ถึง 30 ธันวาคม 2541 มีผู้ป่วยกระดูกหักแบบแผลเปิดซึ่งไม่ได้รับการผ่าตัดทำความสะอาดบาดแผลภายใน 6 ชั่วโมง ร้อยละ 30 จากจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 120 ราย และมีการติดเชื้อเกิดขึ้นร้อยละ 7. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tool:04

Top-Down Flow Chart สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tool:05 Q07: Risk Management Top-Down Flow Chart ตัวอย่าง top-down flow chart เมื่อรวบรวมขั้นตอนการทำงานทั้งหมดได้แล้ว อาจจะใช้เทคนิค affinity diagram จัดกลุ่มขั้นตอนดังกล่าว แต่ละกลุ่มคือขั้นตอนหลัก และบัตรในกลุ่มนั้นคือขั้นตอนย่อย สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tool:05 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

Deployment Flow Chart แพทย์ พยาบาล ผช.พยาบาล รังสีเทคนิค เตรียมอุปกรณ์ Q07: Risk Management Deployment Flow Chart แพทย์ พยาบาล ผช.พยาบาล รังสีเทคนิค เตรียมอุปกรณ์ เตรียมผู้ป่วย อธิบายแก่ผู้ป่วย จัดกระดูกเข้าที่ พันเฝือก ฉีดยา ดูแลจนรู้สึกตัว ตัวอย่าง deployment flow chart เมื่อเขียนเสร็จแล้วควรใช้คำถามต่อไปนี้เพื่อทำความเข้าใจกับความสัมพันธ์ของลูกค้าภายใน พิจารณาว่าใครเป็นผู้ส่งมอบ (supplier) และใครเป็นลูกค้า (customer) หรือผู้รับช่วงงาน ของแต่ละขั้นตอน. ถามว่าผู้ส่งมอบพยายามที่จะทำให้ผู้รับช่วงงานพึงพอใจหรือไม่. ถ้าไม่ เป็นเพราะเหตุใด. ถามว่าผู้ส่งมอบและผู้รับช่วงงานได้ปรึกษากันหรือไม่ว่างานที่มีคุณภาพควรมีลักษณะอย่างไร. ใครเป็นผู้ให้ความหมายของคุณภาพ. ถ้าผู้รับช่วงงานไม่ได้เป็นผู้ให้ความหมาย เป็นเพราะเหตุใด. ค้นหาว่าอะไรเป็นอุปสรรคที่ทำให้ผู้ส่งมอบไม่สามารถสร้างผลงานที่มีคุณภาพได้. ศึกษาว่าการประหยัดในส่วนของผู้ส่งมอบ ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายที่สูงเกินเหตุในส่วนของผู้รับช่วงงานหรือไม่. ตรวจสอบกระบวนการตัดสินใจแต่ละขั้นว่าผู้ที่ให้ข้อมูลแก่ผู้ตัดสินใจนั้น เข้าใจหลักเกณฑ์ที่จะใช้ในการตัดสินใจหรือไม่. ศึกษาว่าผู้ตัดสินใจได้บอกผู้อื่นหรือไม่ว่าตนใช้หลักเกณฑ์อะไรในการตัดสินใจ, มีการให้แนวทางเกี่ยวกับการนำเสนอข้อมูลหรือไม่. พิจารณาว่ามีสถิติเกี่ยวกับกระบวนการตัดสินใจหรือไม่. หาข้อมูลมายืนยันว่ามีผลลัพธ์ที่ไม่น่าพึงพอใจเกิดขึ้นบ่อยเพียงใด. สั่งตรวจเอกซเรย์ ถ่ายภาพเอกซเรย์ อ่านภาพ,แนะนำ,นัด ออกใบนัด สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tool:06 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

Process Flow Chart สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tool:07 Q07: Risk Management Process Flow Chart ตัวอย่าง process flow chart การเขียน flow chart ครั้งแรกอาจจะยังไม่ได้รายละเอียดสมบูรณ์ การติดไว้ในที่ทำงาน อธิบายให้ผู้ร่วมงานได้ทราบความหมายของสัญญลักษณ์ และเชื้อเชิญให้ผู้ร่วมงานช่วยกันเพิ่มเติมขั้นตอนที่ยังขาดอยู่ จะทำให้ได้ flow chart ที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เมื่อเขียนเสร็จแล้วควรวิเคราะห์ว่ามีขั้นตอนในส่วนไหนที่ซับซ้อนมากเกินจำเป็น สมควรที่จะตัดหรือรวมเข้ากับขั้นตอนอื่น สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tool:07 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

กำหนดคำจำกัดความในการเก็บข้อมูล Q07: Risk Management กำหนดคำจำกัดความในการเก็บข้อมูล อะไรคือคุณลักษณะ (concept) ที่เราต้องการประเมิน จะใช้ข้อมูล (data) อะไรเพื่อประเมินแนวคิดข้างต้น แผนการเก็บข้อมูลเป็นอย่างไร จะใช้วิธีการเก็บอย่างไร ใช้เครื่องมืออะไร เก็บที่ไหน ใครเป็นผู้เก็บ มีการสุ่มตัวอย่างหรือไม่ บ่อยเพียงใด มากเท่าไร หลักเกณฑ์การตัดสินใจสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพคืออะไร เพื่อให้ข้อมูลที่เก็บเป็นข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และได้ผลเดียวกันไม่ว่าใครจะเป็นผู้เก็บ จำเป็นต้องมีการกำหนดคำจำกัดความสำหรับเก็บข้อมูล (operational definition) และทำความเข้าใจให้ตรงกัน การเขียนคำจำกัดความสำหรับเก็บข้อมูลจะต้องเริ่มด้วยการพิจารณาว่าจะประเมินแนวคิดอะไร แล้วพิจารณาว่าจะใช้ข้อมูลอะไรว่าวัดแนวคิดนั้น เช่น ใช้เวลาวัดความรวดเร็ว ใช้คะแนนความเจ็บปวดวัดผลลัพธ์ของการดูแลหลังผ่าตัด จากนั้นให้วางแผนการเก็บข้อมูลว่าจะใช้วิธีการเก็บอย่างไร ใช้เครื่องมืออะไรเก็บ เก็บที่ไหน ใครเป็นผู้เก็บ จะมีการสุ่มตัวอย่างหรือไม่ ถ้ามีจะสุ่มบ่อยเพียงใด มีจำนวนตัวอย่างมากเท่าไร เมื่อกำหนดคำจำกัดความแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการออกแบบบันทึกข้อมูล แล้วนำคำจำกัดความและแบบบันทึกไปทดสอบก่อนใช้งานจริง สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tool:08 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

Control Chart: The Best Tool for Quality Indicators Q07: Risk Management Control Chart: The Best Tool for Quality Indicators ภาพนี้แสดงตัวอย่างของ control chart ซึ่งวัดระยะเวลาตั้งแต่เจาะเลือดจนกระทั่งส่งเลือดเข้าตรวจที่ OPD ของโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง มีการวัดข้อมูลก่อนการปรับปรุงเปรียบ เทียบกับหลังการปรับปรุง จะเห็นว่าก่อนการปรับปรุงมีลักษณะการแกว่งของระยะเวลารอค่อนข้างมาก คือมีพิสัยตั้งแต่ 5 นาที ถึง 40 นาที เส้น upper control limit อยู่ที่ 36 นาที หมายความว่าในระบบก่อนการปรับปรุง ระยะเวลารอที่เกินกว่านี้ถือว่าเป็นเหตุการณ์ผิดปกติ ซึ่งมีเกิดขึ้น 2 ครั้ง เหตุการณ์ลักษณะนี้ควรเป็นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงานที่จะค้นหาสาเหตุว่าเกิดจากอะไร และพยายามป้องกันเหตุการณ์เหล่านี้มิให้เกิดขึ้นอีก ทางทีมงานและผู้บริหารได้ร่วมกันวิเคราะห์สาเหตุและดำเนินการปรับปรุงระบบ โดยการตัดขั้นตอนการลงทะเบียนที่จุดเจาะเลือด และให้เจ้าหน้าที่นำส่งเลือดให้บ่อยขึ้น หลังการปรับปรุงพบว่าระยะเวลารอลดลงไปครึ่งหนึ่ง พิสัยการแกว่งของระยะเวลารอลดลงเหลือ 2 ถึง 15 นาที ไม่มีเหตุการณ์ผิดปกติเกิดขึ้น ค่า upper control limit หลังการปรับปรุงมีค่าใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ยก่อนการปรับปรุง นั่นคือสิ่งที่เป็นปกติเมื่อก่อนนี้กลายเป็นสิ่งผิดปกติไปแล้ว ค่าเฉลี่ยของ control chart จะคำนวณโดยตัดค่าที่เป็นเหตุการณ์ผิดปกติที่อยู่นอก upper & lower control limit ออกไปแล้ว สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tool:09 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

ค่าสถิติของกราฟควบคุม Q07: Risk Management ค่าสถิติของกราฟควบคุม x-chart p-chart variable, continuous ข้อมูลจากการวัด attribute, discrete ข้อมูลจากการนับ ลักษณะข้อมูล ค่าเฉลี่ย (Mean) กราฟควบคุมที่ใช้บ่อยมี 2 ประเภท คือ x-chart และ p-chart x-chart หรือ variable chart ใช้สำหรับข้อมูลที่ได้จากการวัด เช่น ระยะเวลารอคอย ระดับน้ำตาลในเลือด p-chart หรือ proportion chart ใช้สำหรับข้อมูลที่ได้จากการนับ เช่น จำนวนผู้ป่วยที่รอเกินกว่า 30 นาที อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล จะเห็นว่าข้อมูลที่ได้จากการวัดชุดเดียวกัน อาจจะนำมาสร้างได้ทั้ง x-chart และ p-chart แต่ p-chart จะเกิดต่อเมื่อมีเกณฑ์ที่ใช้ตัดสินว่ามีจำนวนครั้งที่เกิดปัญหาขึ้นเท่าใด ความแตกต่างของ x-chart และ p-chart อยู่ที่การคำนวณค่าระดับควบคุม (control limit) มักจะมีคำถามเสมอว่าทำไมใช้ 3 SD ทำไมไม่ใช้ 2 SD คำตอบก็คือวัตถุประสงค์ของการมีระดับควบคุมคือการแยกแยะเหตุการณ์ผิดปกติออกจากเหตุการณ์ปกติ เมื่อพบเหตุการณ์ผิดปกติจะต้องสืบสวนหาสาเหตุและดำเนินการแก้ไขตามสาเหตุพิเศษเหล่านั้น หากกำหนดเป็น 2 SD จะทำให้มีเหตุการณ์ผิดปกติซึ่งต้องค้นหาสาเหตุพิเศษจำนวนมาก ซึ่งหากวิเคราะห์สาเหตุร่วมของระบบแล้วดำเนินการปรับปรุงระบบ ระดับปัญหาก็จะสามารถลดลงได้ คือค่าเฉลี่ยของข้อมูลจากการวัด คือค่าเฉลี่ยของข้อมูลจากการนับซึ่งคำนวณเป็นร้อยละหรือสัดส่วนแล้ว คือค่าเฉลี่ยของจำนวนเหตุการณ์ที่เป็นตัวหารของสัดส่วน SD คือส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับควบคุม Control Limit 3 3 SD สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tool:10 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

เป้าหมายของการปรับปรุงแก้ไข Q07: Risk Management เป้าหมายของการปรับปรุงแก้ไข 1 2 ถ้ามีเหตุการณ์ผิดปกติหรือสาเหตุพิเศษ เป็นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงานต้องแก้ไข. ถ้าเป็นสาเหตุที่ฝังอยู่ในตัวระบบเอง เป็นหน้าที่ของผู้บริหารที่จะต้องดำเนินการปรับปรุง. เป้าหมายของการปรับปรุงแก้ไขมีลำดับขั้นดังนี้: ขั้นแรกคือการกำจัดสาเหตุพิเศษของความไม่แน่นอน. ขั้นที่สองคือการลดความไม่แน่นอนโดยที่ค่าเฉลี่ยยังไม่เปลี่ยนแปลง (หรือทำให้ control limit แคบลง). ขั้นที่สามคือการลดระดับค่าเฉลี่ยของปัญหาหรือเพิ่มค่าเฉลี่ยของคุณภาพ. 3 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tool:11 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tool:12 Q07: Risk Management ลักษณะของระบบที่ไม่คงตัว (unstable) สามารถดูจาก control chart ด้วยหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ 1. มีจุดที่อยู่นอก control limit (special cause) 2. มีจุด 7 จุดหรือมากกว่าที่: 2.1 อยู่เหนือหรือใต้เส้นเฉลี่ยติดต่อกันทั้งหมด อาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรทั้งชุด. 2.2 เรียงไปในทิศทางเดียวกัน ไม่ว่าขึ้นหรือลง (trend) 3. ลักษณะที่ nonrandom คืออยู่ใกล้กับเส้นเฉลี่ยมาก (hugging) ซึ่งอาจเกิดจากการแต่งข้อมูล, การลด variability แล้วมิได้คำนวน control limit ใหม่ หรือจำนวนตัวอย่างน้อยเกินไป หรืออยู่ไกลจากเส้นเฉลี่ยมาก ซึ่งอาจเกิดจาก การนำข้อมูลจากกลุ่มย่อย 2 กลุ่มมาผสมกัน ให้แก้โดยการจัดกลุ่มแล้วแยก plot คนละ chart, overcontrolling, จำนวนตัวอย่างมากเกินไป 4. เป็น cycle แสดงการเปลี่ยนแปลงที่สม่ำเสมอในระบบ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tool:12 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

แผนภูมิเหตุและผล CPR ไม่มีประสิทธิภาพ ขาดความรู้/ประสบการณ์ จนท.ปฏิบัติไม่ถูก จนท.ไม่รู้บทบาท จนท.ไม่เพียงพอ CPR ไม่มี ประสิทธิภาพ ไม่มีทีม CPR เครื่องมือไม่พร้อม การสื่อสารและประสานงานไม่ดี สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Tool:13